Page 244 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 244
กระบวนการด�าเนินการวิจัยมีรายละเอียดต่อไปนี้
้
3.1 การประเมินแหล่งพุนาร้อนกรณีศึกษาตามแนวทางการจัดระดับคุณภาพและศักยภาพตามหลักการ
�
จ�าแนกแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยหลักช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ
ั
ึ
ขนตอนการประเมินแหล่งพุนาร้อนกรณีศกษาตามแนวทางการจดระดับคณภาพและศกยภาพตามหลกการ
้
ั
�
้
ั
ั
ุ
จาแนกแหล่งท่องเทยวเชงนเวศโดยหลกช่วงชนโอกาสด้านนนทนาการ (Recreation Opportunities Spectrum: ROS)
่
ั
้
ิ
ิ
ั
ี
�
ั
�
ิ
้
ื
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความแตกต่างทางกายภาพและส่งแวดล้อมของแหล่งพุนาร้อนเพ่อเรียนรู้ความแตกต่างและโอกาส
�
ี
�
ในการจัดการท่องเท่ยวแบบต่างๆ ซ่ง ROS คือ แบบแผนการจาแนกประเภทและกากับดูแลสถานท่สาหรับกิจกรรมนันทนาการ
�
ึ
ี
ื
ื
ี
ื
ในเขตป่าไม้หรืออุทยานเพ่อควบคุมและใช้ทรัพยากรในพ้นท่ รวมถึงสร้างโอกาสในการเปิดกิจการเพ่อรองกับความต้องการ
ที่หลากหลาย (Clark and Stankey, 1979) แบ่งเป็นหกระดับ คือ
ี
1. พ้นท่ธรรมชาติสันโดษ (Primitive Area, P) คือ พ้นท่ๆ มีความเป็นธรรมชาติสูง ห่างจากถนนหลักอย่างน้อย
ี
ื
ื
3 ไมล์
2. พื้นที่ธรรมชาติกึ่งสันโดษที่โดยไม่ใช้ยานยนต์ (Semi-primitive Non-motorized Area, SPNM) คือ พื้นที่
ธรรมชาติที่มีทางเดินเท้าเข้าถึง ห่างจากถนน ½ ถึง 3 ไมล์
3. พื้นที่ธรรมชาติกึ่งสันโดษโดยใช้ยานยนต์ (Semi-primitive Motorized Area, SPM) คือ พื้นที่ธรรมชาติ
ที่เข้าถึงได้ด้วยรถยนต์บนทางดิน ห่างจากถนนหลักอย่างน้อย ½ ไมล์
4. พื้นที่ธรรมชาติดัดแปลง (Roaded Natural-Modified, RN-M) คือ พื้นที่ธรรมชาติที่มีการสร้างถนนส�าหรับ
รถยนต์ที่ดีกว่าทางดินที่ห่างจากถนนหลักภายใน ½ ไมล์
5. พ้นท่ชนบท (Rural, R) คือ พ้นท่ๆ ได้รับการพัฒนาในระดับชุมชนชนบท เข้าถึงได้จากเขตเมือง สภาพพ้นท ี ่
ี
ื
ี
ื
ื
มีการเปลี่ยนแปลงจากธรรมชาติชัดเจน
6. พื้นที่เมือง (Urban, U) คือ พื้นที่เขตเมือง
�
้
ี
ื
3.2 การวิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะและภาพลักษณ์แหล่งพุน�าร้อนและพ้นท่ใกล้เคียงเพ่อกาหนดรูปแบบ
ื
การท่องเที่ยวและภาพลักษณ์สถานที่โดยรวม
�
้
ั
�
ื
ข้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะและภาพลักษณ์แหล่งพุนาร้อนและพ้นท่ใกล้เคียงเพ่อกาหนดรูปแบบ
ื
ี
การท่องเที่ยวและภาพลักษณ์สถานที่โดยรวมใช้แนวทางการวัดภาพลักษณ์สถานที่ (Measurement of Destination Image)
ของ Echtner and Ritchie (1991) ซึ่งเป็นการศึกษาคุณลักษณะและภาพลักษณ์ย่อยต่างๆ ที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์รวมของ
สถานที่ๆ หนึ่ง ด้วยแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ ซึ่งในงานวิจัยนี้เป็นการสัมภาษณ์ด้วยชุดค�าถามที่ถามถึง 1) บริบท
�
้
ี
และรูปแบบกิจกรรมในพ้นท่แหล่งพุนาร้อน 2) บริบทชุมชน ประกอบด้วยผู้คน สถานท่ และความปลอดภัย และการใช้ประโยชน์
ื
ี
จากพื้นที่ 3) ลักษณะกิจกรรม ประเพณี วัฒนธรรมประจ�าปีที่โดดเด่น และ 4) ภาพลักษณ์ของพื้นที่ในทัศนคติของชุมชน
และสิ่งที่อยากน�าเสนอในฐานะแหล่งท่องเที่ยว แล้วจึงน�าข้อมูลมาวิเคราะห์แล้วแยกเป็นส่วนต่างๆ ประกอบด้วย
ี
ี
1. ภาพลักษณ์ด้านหน้าท่ (Functional Characteristics) คือ คุณลักษณะหรือภาพลักษณ์ท่สัมผัสหรือมองเห็นได้
เช่น ผู้คน สิ่งของ สถานที่ ทิวทัศน์
ี
2. ภาพลักษณ์ด้านจิตวิทยา (Psychological Characteristics) คือ คุณลักษณะหรือภาพลักษณ์ท่เป็นความรู้สึก
เช่น ความเป็นมิตร ความปลอดภัย ความเงียบสงบ
3. ภาพลักษณ์ส่วนรายละเอียด (Attributes) คือ คุณลักษณะหรือภาพลักษณ์ในสถานท่เดียวแต่แยกย่อยเป็นข้อ
ี
ของตนเอง
4. ภาพลักษณ์โดยรวม (Holistic) คือ ภาพลักษณ์ที่เป็นมวลรวมทั้งหมดจากภาพลักษณ์ส่วนรายละเอียด
5. ภาพลักษณ์ทั่วไป (Common) คือ คุณลักษณะหรือภาพลักษณ์ที่อาจพบได้ในสถานที่อื่น
6. ภาพลักษณ์ที่เด่น/เฉพาะตัว (Unique) คือ คุณลักษณะหรือภาพลักษณ์เฉพาะของสถานที่
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
237 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.