Page 71 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 71
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
รูปที่ 3 บรรยากาศพื้นที่ท�างานร่วมในประเทศไทย
ที่มา: https://daily.rabbit.co.th/7-%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99-co-working-space
%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B9%89%E0%B8%99-bts
จากการศึกษาขั้นต้น ผู้วิจัยได้พบว่าพื้นที่ท�างานร่วมแบ่งเป็น 2 ประเภทหลักตามรูปแบบของธุรกิจ ได้แก่ 1) พื้นที่
ท�างานร่วมแบบให้เช่าพื้นที่ท�างานอย่างเดียว เช่น Hubba, Muchroom Coworking Space, JointBKK 2) พื้นที่ท�างานร่วม
ผสมกับธุรกิจอื่น เช่น Too Fast to Sleep, Think Space B2S, Café Amazon บางสาขา และพบว่าพื้นที่ท�างานร่วม
ในประเทศไทยมีพื้นที่ใช้สอยหลัก 4 ประเภท ได้แก่ 1) พื้นที่ท�างานรวม (Shared Desk) 2) พื้นที่ท�างานส่วนตัว (Private
Zone) 3) ห้องประชุม (Meeting Room) 4) ห้องประชุมใหญ่-จัดงาน (Event Hall) นอกจากพื้นที่หลักจะมีพื้นที่ประกอบ
ประเภทต่างๆ ตามความต้องการการใช้พื้นที่แตกต่างกันออกไปของแต่ละสถานประกอบการแต่ละแห่ง เช่น ห้องโทรศัพท์
ื
ส่วนตัว ห้องถ่ายเอกสาร-พิมพ์เอกสาร ห้องพักผ่อน-เกมส์ ห้องเตรียมอาหาร ห้องตู้ฝากของ (Locker Room) พ้นท่พักผ่อน-
ี
ี
ื
ื
ื
ื
ื
ี
�
ี
ทากิจกรรมกลางแจ้ง เคาน์เตอร์ขายเคร่องด่ม-อาหารว่าง และพ้นท่อ่นๆ ในปัจจุบันพ้นท่ทางานร่วมเป็นพ้นท่ทางสถาปัตยกรรม
�
ื
รูปแบบใหม่ และพื้นที่ท�างานร่วมส่วนใหญ่ที่ด�าเนินกิจการอยู่ ได้น�าแนวคิดการใช้งานจากประเทศต้นแบบที่มีบริบทแตกต่าง
ั
จากประเทศไทยมาใช้ในการออกแบบสถาปตยกรรมภายใน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะท�าการวิจัยเพื่อศึกษาหาความต้องการ
การใช้พื้นที่ใช้สอย และลักษณะด้านกายภาพของพื้นที่ใช้สอยส่วนนั้นๆ ให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการการใช้พื้นที่
ของผู้ใช้บริการพื้นที่ท�างานร่วม (Coworking Space) ในบริบทการใช้งานในประเทศไทย โดยน�าทฤษฎีการออกแบบที่มีผู้ใช้
เป็นศูนย์กลาง (User Centered Design) มาใช้ และศึกษาเฉพาะความต้องการทางกายภาพ (Physical Function) เพื่อให้
ได้มาซึ่งความต้องการของพื้นที่ใช้งานที่เหมาะกับบริบทของประเทศไทยอย่างแท้จริง
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 เพื่อศึกษาความต้องการพื้นที่ใช้สอยของ ผู้ใช้บริการพื้นที่ท�างานร่วม (Coworking Space) ในประเทศไทย
2.2 เพื่อศึกษาความต้องการทางกายภาพพื้นที่ใช้สอยแต่ละประเภทของ ผู้ใช้บริการพื้นที่ท�างานร่วม (Coworking
Space) ในประเทศไทย
3. วิธีการวิจัย เครื่องมือวิจัย และระเบียบวิธีวิจัย
งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาหารูปแบบพื้นที่ใช้สอยของ
ิ
ั
ี
�
้
พนททางานร่วมในบรบทของประเทศไทย มขอบเขตวจยความต้องการทางกายภาพ (Physical Function) ตามทฤษฎ ี
ื
่
ี
ิ
�
ี
ื
การออกแบบท่มีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง (User Centered Design) โดยใช้พ้นท่ทางานร่วมแห่งหน่งในกรุงเทพฯ ตอนเหนือมีคุณสมบัต ิ
ึ
ี
ี
�
เป็นพ้นท่ทางานร่วมแบบให้เช่าพ้นท่ทางานอย่างเดียว ขนาดพ้นท่บริการประมาณ 400 ตารางเมตร เปิดบริการมาแล้ว 5 ปี
ื
ี
ื
ี
�
ื
ื
�
ี
ี
ั
ื
ต้งอยู่ใกล้แนวรถไฟฟ้า BTS เป็นพ้นท่ตัวอย่าง ด้านผู้ใช้บริการมีคุณสมบัติเป็นผู้ใช้บริการท่มีการใช้งานพ้นท่ทางานร่วม
ี
Vol. 9 64