Page 69 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 69
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
Abstract
The qualitative research is conducted to study the requirement of space usage in coworking space
in northern part of Bangkok under context of Thailand. Base on literature review and pilot study on 10 coworking
spaces in bangkok show that coworking spaces in Bangkok differ from other initiate countries in function and
design. For better understanding, researcher selects a corworking space to gather in dept data by users
and owners interviewing, participant observation, and finding the environment demand of users from “Ideal
Coworking Space” essay. The data are verified by methodological triangulation and analyzed by interpretative
phenomenological analysis. The result found, users require shared desk, fixed desk, meeting room, conference
room. The users desire more facilities such as cafe, phone booth, recreation area, pantry, napping area,
and printing station. Majority prefer atmosphere in the coworking space to be comfortable in earth toned with
casual furniture. But some users prefer fun exciting space in addition to working area. In conclusion, the
demand of users in coworking space within Bangkok are different from other initiate countries as a result of
users characteristic. And these demand could affect the physical environment of coworking space.
Keywords: Coworking Space, North Bangkok, Space Requirement
1. บทน�า
ึ
โลกในปัจจุบันอยู่ในยุคโลกาภิวัตน์ สังคมมีการเปล่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา มีเทคโนโลยีเกิดข้นมาใหม่ๆ
ี
ี
ื
�
�
ึ
ื
มากมายและพัฒนาอย่างต่อเน่อง ซ่งส่งผลให้รูปแบบธุรกิจและวิธีการทางานเปล่ยนแปลงไปเพ่อตอบสนองการดารงชีวิตของ
ี
ี
�
�
คนในสังคม รูปแบบธุรกิจและวิธีการทางานน้เองท่ทาให้มีคนทางานอิสระเพ่มข้น จากผลการสารวจจานวนประชากรท่ทางาน
�
ึ
�
ิ
ี
�
�
ิ
อิสระท่วโลกมีจานวน 919.4 ล้านคนในปี พ.ศ. 2551 เพ่มเป็น 1,190 ล้านคนในปี พ.ศ. 2555 (ณิศา พงษ์ไชยวรฤทธ์, 2557)
�
ิ
ั
การเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ด้านนี้ท�าให้เกิดรูปแบบของสถานที่ท�างานรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า “พื้นที่ท�างานร่วม” หรือ “Coworking
Space” พื้นที่ท�างานร่วม เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2549 และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในปี พ.ศ. 2560 มีพื้นที่ท�างานร่วม
13,800 แห่ง มีผู้ใช้บริการ 1.18 ล้านคน (Foertsch, 2017) และมีพื้นที่ท�างานร่วมเกิดขึ้นใหม่ทั่วโลก 4.5 แห่งต่อวัน (ณิศา
พงษ์ไชยวรฤทธ์, 2557) แบรด นิวเบิร์ก (Brad Neuberg) ได้ก่อต้งพ้นท่ทางานร่วม (Coworking Space) ข้นในเมือง
ี
�
ึ
ื
ิ
ั
ซานฟรานซิสโก ชื่อ “The Hat Factory” ในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นแห่งแรก และก�าหนดแนวคิดเรื่องรูปแบบการท�างาน
ประเภทนี้ แบรด นิวเบิร์ก (Brad Neuberg) เล่าให้นิตยสารออนไลน์ซึ่งมีชื่อเสียงในประเทศสหรัฐอเมริกาชื่อ DeskMag ว่า
“ผมต้องการพบปะกับผู้คนพร้อมๆ กับอิสระในการท�างาน แต่ไม่รู้จะท�ายังไง...พอดีว่าบริษัท Start-up ที่ผมไม่ชอบ
เขาเช่าพื้นที่ท�างานของรีกัสอยู่ ซึ่งผมไม่ชอบเพราะมันไม่มีสังคมเลย เป็นส�านักงานที่น่าเบื่อมาก และการแชร์พื้นที่ท�างาน
แบบนี้มีขึ้นมาแค่เพียงประหยัดงบเท่านั้น แต่ไม่ช่วยเรื่องการแลกเปลี่ยนความคิดหรือสื่อสารกับผู้อื่นเลย เหมือนแค่ใช้พื้นที่
ด้วยกันเฉยๆ Coworking นั้นต้องมีความเป็นคอมมิวนิตี้ที่ได้พบปะคนอื่นด้วย” (Dullroy, 2012, p. 1)
ซึ่งต่อมา คาร์ล สปินุซซี่ (Carl Spinuzzi) ได้ท�าการวิจัยหาค�าจ�ากัดความของพื้นที่ท�างานร่วม โดยการรวบรวม
ี
�
�
ื
ี
ี
ื
ความคิดเห็นจากผู้ใช้บริการและผู้ประกอบการ สรุปจากความคิดเห็นท่ได้จากงานวิจัยน้ว่า “พ้นท่ทางานร่วม เป็นพ้นท่ทางาน
ี
ื
�
�
ท่รวมคนทางานอิสระหลายๆ วิชาชีพมาทางานอยู่ร่วมกัน สนับสนุนกันด้านธุรกิจแนวคิดต่างๆ เก้อหนุนกัน” (Spinuzzi,
ี
่
ั
�
2012) ผวิจยสรปแนวคดดงกล่าวจากงานวจัยของประเทศต้นแบบท่มต่อพนททางานร่วมว่า “เป็นพ้นท่ทางานรวมทให้คนทางาน
�
ี
ู้
ี
�
้
ี
ี
่
ื
ื
ิ
ั
ี
ิ
ุ
ต่างสาขาอาชีพมาท�างานร่วมในพื้นที่เดียวกัน ส่งเสริมให้เกิดสังคมภายใน มีการสนับสนุนกันในด้านธุรกิจ และแลกเปลี่ยน
ความรู้ต่อกัน”
Vol. 9 62