Page 72 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 72
เป็นประจ�ามากกว่า 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ใช้งานครั้งละไม่ต�่ากว่า 4 ชั่วโมง ใช้บริการพื้นที่ท�างานร่วมในกรุงเทพฯ ตอนเหนือ
มากกว่าร้อยละ 80 ท�าการเก็บข้อมูลในช่วงเวลาระหว่างวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2560 - วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
3.1 เครื่องมือที่ใช้ในการท�าวิจัย ประกอบด้วยกัน 4 ส่วน ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ท�าการศึกษาด้วยวิธีท�าแบบสอบถาม ผู้วิจัยใช้วิธีการท�าแบบสอบถามเฉพาะในขั้นตอนการท�าวิจัย
�
ึ
ั
นาร่อง (Pilot Study) เท่าน้น ซ่งเป็นการใช้ร่วมกับการสัมภาษณ์และการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม โดยเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
แบบบังเอิญ (Accidental Selection) ซึ่งกลุ่มผู้ให้ข้อมูลต้องมีลักษณะบางประการที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย เช่น
ั
ี
�
�
ื
ื
ี
�
เป็นผู้ใช้พ้นท่ทางานร่วมเพ่อใช้ทางานมากกว่า 2 คร้ง ต่อสัปดาห์ และใช้งานพ้นท่ทางานร่วมแห่งน้เป็นประจา ผู้วิจัยทา �
ื
ี
�
แบบสอบถามถึงวัตถุประสงค์ในการใช้พ้นท่ความต้องการการใช้พ้นท่ใช้สอยประเภทใดบ้าง และต้องการให้พ้นท่ใช้สอย
ี
ื
ี
ื
ี
ื
ในส่วนนั้นๆ มีลักษณะทางกายภาพอย่างไร การท�าแบบสอบถามจะท�าให้ได้ข้อมูลในเชิงกว้างและได้ข้อมูลในปริมาณมาก
ส่วนที่ 2 ท�าการศึกษาด้วยวิธีสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้วิจัยเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
ี
�
�
ึ
ซ่งเป็นการเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย ผู้วิจัยทาการสัมภาษณ์แบบปลายเปิด ใช้คาถามท่ต้องการ
ี
ื
คาบรรยาย การอธิบาย การคาดหมาย ความคิดเห็นเพ่มเติมเชิงกว้างและเชิงลึก ถึงความต้องการการใช้พ้นท่ใช้สอย
ิ
�
ี
ี
ื
ประเภทใดบ้าง และต้องการให้พ้นท่ใช้สอยในส่วนน้นๆ มีลักษณะทางกายภาพอย่างไร โดยผู้วิจัยได้ใช้ภาพตัวอย่างพ้นท่ใช้สอย
ื
ั
ส่วนต่างๆ ให้ผู้ให้ข้อมูลดูประกอบขณะสัมภาษณ์ เพ่อให้ผู้ให้ข้อมูลได้เกิดความเข้าใจมากข้น พร้อมท้งทาการบันทึกเสียง
ั
�
ื
ึ
เพื่อน�ามาวิเคราะห์ถึงอารมณ์ นัยที่แฝงไว้ของผู้ให้ข้อมูลในขณะสัมภาษณ์
ส่วนที่ 3 ท�าการศึกษาด้วยวิธีการให้กลุ่มผู้ให้ข้อมูลเขียนเรียงความ เรื่อง “Coworking Space ในฝันของฉัน”
ผู้วิจัยเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งเป็นการเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
การวิจัย โดยให้ผู้ให้ข้อมูลเขียนบรรยายถึงภาพของพื้นที่ท�างานร่วมในละคร ในภาพยนตร์ หรือในมิวสิกวิดีโอ ที่ตัวเองแสดง
�
ี
�
เป็นตัวละครเอกในเร่อง และมีการใช้งานพ้นท่ทางานร่วมเป็นประจา ผูกพันกับสถานท่น้ บรรยายว่ามีกิจกรรมอะไร กับใครบ้าง
ี
ี
ื
ื
ได้ใช้งานพื้นที่ประเภทในเวลาใด และพื้นที่ใช้สอยประเภทนั้นๆ มีลักษณะทางกายภาพอย่างไร
�
ี
ส่วนท่ 4 ทาการศึกษาด้วยวิธีสังเกตอย่างมีส่วนร่วม ผู้วิจัยเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
�
ซ่งเป็นการเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย ผู้วิจัยจะทาการสังเกตพฤติกรรมการใช้งานของกลุ่มผู้ให้
ึ
ี
ข้อมูลอย่างไม่รู้ตัว สังเกตดูความสะดวกสบายในการใช้พ้นท่ใช้สอยแต่ละส่วนว่า ผู้ใช้บริการมีความสะดวกในการใช้งานเพียงพอ
ื
หรือไม่ เพื่อสังเกตนัยความต้องการของผู้ให้ข้อมูลที่ไม่ได้บอกไว้ในการสัมภาษณ์และการเขียนเรียงความ
3.2 ระเบียบวิธีวิจัย ประกอบด้วย 11 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. การศึกษาภาคเอกสาร ทบทวนวรรณกรรม และแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ท�างานร่วมของประเทศ
ต้นแบบและพื้นที่ท�างานร่วมในประเทศไทย ศึกษาทฤษฎีการออกแบบที่มีผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง (User Centered Design)
2. การศึกษาภาคสนาม ท�าวิจัยน�าร่อง (Pilot Study) ส�ารวจพื้นที่ท�างานร่วมในกรุงเทพฯ 10 แห่ง ใช้การสุ่ม
�
เลือกแบบโควตา (Quota Sampling) โดยเลือกจากเขตกรุงเทพฯ ช้นใน 5 แห่ง และเขตกรุงเทพฯ ช้นนอก 5 แห่ง ทาการเก็บ
ั
ั
ี
�
ข้อมูลด้วยวิธีการทาแบบสอบถาม-สัมภาษณ์ผู้ใช้บริการ โดยมุ่งเน้นประเด็นพฤติกรรมการใช้งานและความต้องการพ้นท่ใช้สอย
ื
สัมภาษณ์ผู้ประกอบการ โดยมุ่งประเด็นท่แนวคิดในการทาธุรกิจท่มีผลต่อลักษณะการใช้งานพ้นท่ สังเกตอย่างมีส่วนร่วม
ี
�
ี
ี
ื
เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามแห่งละ 8 คน สัมภาษณ์ผู้ใช้บริการแห่งละ 3 คน และผู้ประกอบการหรือเจ้าหน้าที่แห่งละ 1 คน
ี
ื
�
นาข้อมูลต่างๆ ท่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับลักษณะพ้นท่ทางานร่วมในประเทศต้นแบบ ท่ได้มาจากการทบทวนวรรณกรรม
ี
�
ี
3. เลือกพื้นที่ท�างานร่วมในกรุงเทพฯตอนเหนือ 1 แห่ง โดยการเลือกอย่างเจาะจง (Purposive Sampling)
ใช้เป็นพื้นที่ตัวอย่าง
4. ร่างค�าถามสัมภาษณ์เชิงลึก แล้วน�ามาใช้สัมภาษณ์กับกลุ่มทดลอง ที่มีคุณสมบัติเหมือนกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
จ�านวน 3 คน เพื่อใช้ทดสอบน�าข้อผิดพลาดมาปรับแก้ไข
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
65 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.