Page 70 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 70
รูปที่ 1 การเติบโตของพื้นที่ท�างานร่วมทั่วโลก
ที่มา: นิตยสารออนไลน์ Deskmag
ที่มา: https://www.slideshare.net/carstenfoertsch/the-first-results-of-the-2017-global-coworking-survey
รูปที่ 2 บรรยากาศพื้นที่ท�างานร่วมในประเทศอเมริกา
ที่มา: https://www.ukandoo.com/co-working-growth-sharing-economy/
จากการวิจัยน�าร่อง (Pilot Study) ของผู้วิจัยจากพื้นที่ท�างานร่วม (Coworking Space) ในกรุงเทพฯ 10 แห่ง
ื
ู
้
้
่
้
้
ู
ิ
์
ั
่
ี
่
�
ึ
็
ู
�
ั
แบบโควตา โดยทาการสมภาษณผประกอบการ ผใชบรการ ทาแบบสอบถาม รวมถงสงเกตการณแบบมสวนรวม เพอเปนขอมล
์
ื
�
เบื้องต้นในการทาวิจัย รวมท้งการศึกษาจากเอกสารงานวิจัยต่างๆ ผู้วิจัยพบว่าบริบทการใช้พ้นท่ทางานร่วมในประเทศไทยน้น
ั
ี
�
ั
ี
�
ี
ต่างจากแนวคิดของพ้นท่ทางานร่วมในต่างประเทศท่นามาใช้เป็นต้นแบบ โดยเฉพาะด้านความต้องการพ้นท่การใช้สอย
ี
ื
�
ื
ที่เปลี่ยนไปตามบริบทการใช้งานที่แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุภัชชา โฆษิตศรีปัญญา ที่ให้ความคิดเห็นว่า
ื
“พ้นท่ทางานร่วมส่วนใหญ่ในประเทศไทย ยังไม่เกิดการสร้างชุมชนอย่างจริงจังของผู้ใช้บริการตามแนวคิดของพ้นท่ทางานร่วม
ี
�
ี
�
ื
�
�
ี
ื
จากประเทศต้นแบบ ผู้ใช้บริการพ้นท่ทางานร่วมในประเทศไทยทางานเป็นอิสระต่อกัน ไม่มีการสร้างปฏิสัมพันธ์ด้านการทางาน
�
หรือแลกเปลี่ยนธุรกิจระหว่างกัน ทั้งที่พื้นที่ท�างานร่วมมีการออกแบบบรรยากาศให้ผู้ใช้บริการมีความรู้สึกเป็นกันเอง และมี
การจัดกิจกรรมอย่างสม�่าเสมอ” (สุภัชชา โฆษิตศรีปัญญา, 2558)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
63 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.