Page 107 - The 10th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 107
ึ
ั
ั
ํ
ํ
้
้
การศกษาการบริหารจดการนาในรปแบบทุงรบนา
ู
ํ
้
ั
ี
ุ
ุ
กรณศกษา: ทงรบนาบางบาล อาเภอบางบาล จงหวัดพระนครศรอยธยา
ึ
ี
ั
ํ
The Study of the Water Resources Management in the Water-Retention Field:
The Case Study of Bangban District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province
1
2
ั
ั
นภทรพนธ เฟองฟ อมร กฤษณพันธุ
ู
บทคัดยอ
ั
ํ
้
้
็
่
ั
ในปจจบนทงรบนาไดเปนสวนหนงของการบริหารจดการนา เพอกกเกบ ชะลอหรอปองกนไมใหนาไหลเขาทวมทา ํ
ุ
ุ
ื
ื
่
ั
ํ
ํ
ั
ึ
ั
้
ั
ความเสียหายในพนทปองกนอน ๆ ในการบรหารจดการนาอยางมประสิทธภาพจําเปนตองใหความสําคญกบการมสวนรวม
้
่
ั
ั
ื
ั
ี
ิ
ํ
ิ
ี
้
ื
ี
่
ี
ี
่
่
ี
ี
ั
ู
ึ
่
ื
ี
จากผูมสวนไดสวนเสยทเกยวของทงหมด เพอใหทราบถงขอมลและความตองการของผูทไดรบผลกระทบ ขอจากดและปญหา
่
ั
ํ
้
ั
ั
ิ
ํ
ั
ิ
ึ
ื
้
ี
ุ
ี
เปนตน เพอลดความเสยงทจะนาไปสูความขดแยงในการบรหารจดการงานศึกษานเปนการศกษาเชงคณภาพ โดยมการเกบ
ี
่
็
่
่
ี
่
ี
้
่
ขอมลอยางหลากหลาย อาท การสัมภาษณกลุม การสัมภาษณเชิงลึก จากประชาชนในพืนท 160 คน ตลอดจนเจาหนาทใน
ิ
ี
ู
ี
ั
ํ
ื
ระดบทองถนในอําเภอบางบาล จาหวดพระนครศรีอยธยา ซงพบวา แมจะมการดาเนนการอยางมสวนรวมศกษาเพอกาหนด
ึ
่
ึ
่
ุ
ี
ิ
ั
ํ
ิ
่
ํ
ํ
ึ
ิ
่
ุ
พนทสวนหนงของอาเภอเปนทงรบนาโดยใหประชาชนเสนอแนะขอตกลงในการดาเนนการรวมกนแลว แตในทางปฏิบตไม
ิ
ํ
ั
ั
ื
้
ี
่
ํ
ั
้
ี
ี
ี
ํ
่
่
้
ั
ํ
ื
่
สามารถทาตามขอตกลงไดทงหมด เนองจากกระบวนการการมสวนรวมทไมเพยงพอและงบประมาณทีขาดแคลน ทาให
ิ
ํ
้
ึ
ึ
่
้
่
ํ
ี
ประชาชนสวนหนงไดรับความเสียหายจากการบริหารจดการนาทเกดขนจนเกิดความไมพอใจและนาไปสูความขัดแยงในระดบ
ั
ั
้
ิ
ทองถน ซงจากการศกษาครงน เหนควรสงเสรมใหประชาชนเขามามีสวนรวมอยางจรงจังตลอดกระบวนการวางแผนและ
ึ
้
ั
ี
่
ิ
ิ
ึ
็
่
ํ
ั
ดาเนนการเพอปองกนความเสียหายจากการรับนาเขาพนท พรอมทงควรจดสรรงบประมาณในการชดเชยชวยเหลือใหเพยงพอ
ื
ี
่
ิ
้
ี
ื
ั
ั
้
ํ
่
้
ู
ั
้
ี
่
ื
้
ั
กบความเสียหายทงพนทและจานวนผเสียหาย
ํ
ํ
้
ํ
คาสาคญ: การบริหารจัดการนา การมีสวนรวม
ั
ํ
Abstract
Nowsdaes, water-retention field is one type of water management designed to store, slow down,
and prevent water from flooding other protected areas. Generally, effective water management should
give more conern to the participation of all local stakeholders in order to access information and what
affected locals need, limitations, problems, and so on, and to reduce risks that will lead to conflict in
managing. This qualitative study collected various data using group interview and in-depth interview with
160 locals and also local officers in Bang Ban District, Phra Nakorn Sri Ayutthaya Province. The interview
revealed that even locals took part in studying which areas of the district should be imposed as the
water-retention field and proposed agreement in working out together with local officers but in practice
the actions were not taken as agreed due to lack of budget and insufficient participating of the locals.
Some residents still got affected and damage from water management. These were causes of
dissatisfaction and led to conflicts at local level. For the solution, local people should be supported to
seriously take part in planning and implementation process in order to prevent damage from being water-
retention field. Moreover, budget for compensation should be allocated sufficiently for damage in flood-
affected areas and for the sufferers.
Keywords: Water Resources Management, Participation
1 หลกสตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑต สาขาวิชาการวางแผนชุมชนเมองและสภาพแวดลอม คณะสถาปตยกรรมศาสตร
ิ
ู
ื
ั
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
2
ภาควิชาสถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
ุ
98