Page 164 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 164
ี
ใหยังมพื้นที่วางระหวางกัน สอดคลองกับผลการวิจัยของ Lewinson (2017) ที่พบวาผูใชงานพื้นที่ปรับเปลี่ยนการจัดวาง
ื
่
่
เครืองเรือนในหองของตนเองเพอสรางความเปนสวนตว
ั
ในพื้นที่บริเวณโตะทำงาน จากการสังเกตรองรอยพฤติกรรมของกลุมผูใหขอมูลกรณีศึกษาหอพักเอกชนและ
ื
บาน พบวากรณีศึกษาบานที่มีพื้นที่ภายในหองจำกัดใชวิธีวางสิ่งของคั่นตรงกลางระหวางโตะทำงานที่ตองวางติดกันไว เพอ
่
สรางอาณาเขตและสรางความเปนสวนตัว กรณีศึกษาหอพักเอกชนเลือกจัดวางโตะทำงานไวคนละมุมจากกันเพื่อหลบเลี่ยง
ั
่
สายตาของกนและกน สอดคลองกับผลการวิจัยของ ภัทราวดี ธงงาม (2562) ที่มีแนวทางจดพื้นทีใหสามารถปรับเปลี่ยนตาม
ั
ั
่
ิ
ึ
ึ
ั
ั
้
ื
ั
ี
่
ื
ิ
่
ั
ั
้
ลักษณะการใชงานของนกศกษาได โดยมีผลการวิจยวา หากจดการพนทใหนกศกษาสามารถเลือกขยับสงของ หรอปดกนเพม
ความเปนสวนตวในพนทไดเอง จะสงผลตอความพงพอใจในการใชงานมากกวา
้
ึ
ื
ั
ี
่
เมื่อศึกษากรณีศึกษาทั้ง 2 ประเภท จึงสรุปไดวาการหลบเลี่ยงจากสายตาของกันและกันสงผลใหมีความเปน
ิ
สวนตวมากขน อาจเพราะสามารถทำอะไรไดโดยไมตองระมัดระวงเทาปกต แตหากรวมจากผลของแบบสอบถามจะพบวาการ
ั
ั
้
ึ
ั
หลบเลียงจากสายตากนและกนเปนสิงทจะมีกไดหรือไมมกได แตหากมกจะดกวาตอความพงพอใจในการใชงาน
่
ี
ี
็
่
ั
ี
็
่
ี
ึ
็
6.3 ความเปนสวนตว
ั
ี
ึ
ุ
จากการสัมภาษณกลมผูใหขอมูลกรณีศกษาหอพักเอกชนและบาน พบวา ผูใชงานหองพักรวมกันมสถานะเปน
ครอบครัว ความไวตอความเปนสวนตัวจึงนอยกวาผูใชงานหองพักที่มีสถานะเปนเพื่อน แตในขณะเดียวกันกลุมตัวอยางใน
ี
ี
ื
ั
แบบสอบถามสวนมากมสถานะความสัมพันธเปนเพื่อนกบเพ่อนรวมหอง จึงสรุปไดวาสถานะความสัมพันธมผลตอความไวตอ
ู
ิ
ั
การขาดความเปนสวนตว โดยหากมีความสนทสนมกันอยแลว ขอบเขตของความรูสึกถูกรบกวนกจะนอยลงตามไปดวย
็
ั
6.4 แนวทางการออกแบบและปรบปรง
ุ
แนวทางการออกแบบและปรบปรุงแบงออกเปน 3 ประเดน ไดแก ลักษณะเครืองเรอน ลักษณะการจัดวาง และ
ื
่
ั
็
สิงอำนวยความสะดวกเพมเตม
ิ
่
ิ
่
ในสวนของลักษณะเครื่องเรือน การมีเครื่องเรือนที่พอดีกับจำนวนสมาชิกในหองและงายตอการปรับเปลี่ยน
จะชวยใหสามารถสรางความเปนสวนตัวไดดีขึ้น สอดคลองกับผลการวิจัยของ Samura (2016) และ Lewinson (2007)
ิ
่
ที่พบวา สิทธิ์ในการครอบครอง ดัดแปลง แสดงความเปนเจาของในพืนทีของตนเอง สงผลใหผูใชงานเกดความรสึกผอนคลาย
ู
้
ั
้
และกลาทจะใชงานสงของหรือพนทนน ๆ มากขน จงสรุปไดวาลักษณะเครืองเรอนและจำนวนทเหมาะสมตอประชากรในหอง
้
ื
้
ึ
่
ึ
ี
ิ
่
่
ี
่
ื
ี
่
ั
้
ู
ั
ี
สงผลดตอการสรางความเปนสวนตวแกผใชงาน ทงในดานการสรางความเปนเจาของและการครอบครองอาณาเขต
่
่
ั
ในสวนของลักษณะการจัดวางเครองเรอน การจดวางเครืองเรือนแบบแยกกนคนละมุมหรือหลบเลียงสายตากน
ั
ั
ื
่
ื
ั
จะสงผลดตอการสรางความเปนสวนตวและความสบายใจในการใชงาน
ี
ในสวนของสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มเติม จากการสัมภาษณกรณีศึกษาทั้ง 2 กรณี เกี่ยวกับพื้นที่เก็บของ
ี
ื
ี
่
็
ั
้
ี
พบวาพนทเกบของไมเพยงพอ ดงนนในการออกแบบจึงควรคำนงถงเรืองจำนวนเครืองเรือนทพอดกบจำนวนคนและเหมาะสม
่
ี
่
ั
ึ
ั
้
่
ึ
ตอการใชงาน เกี่ยวกับสิ่งบังสายตา ทั้งสองกรณีศึกษามความเหนวามีก็จะสงผลด แตหากไมมีก็ไมสงผลราย หากไมมีจึงอาจ
็
ี
ี
ู
คำนึงถึงเรื่องการจัดวางเครื่องเรือนใหมีระยะหางออกจากกัน เกี่ยวกับแสงไฟรบกวนอาจสงผลตอความรสึกเชิงลบนอย แต
ั
ี
ุ
็
หากออกแบบใหอปกรณใหแสงสวางภายในหองมแยกจากไฟสวนกลางกชวยเพมความเปนสวนตวได สอดคลองกบผลการวิจย
่
ั
ิ
ั
ของ Samura (2016) และ Lewinson (2007) ที่พบวา สิทธิ์ในการครอบครอง แสดงความเปนเจาของในพื้นที่ของตนเอง
ิ
่
ู
่
สงผลใหผใชงานเกดความรูสึกผอนคลายและกลาทจะใชงานสงของหรือพนทนน ๆ มากขน จงสรุปไดวาสิงอำนวยความสะดวก
ึ
้
ื
ึ
้
่
ิ
้
ั
ี
ี
่
ิ
่
ั
เพมเตม ไมไดเปนส่งทีจำเปนอยางชัดเจน แตหากมกจะชวยใหเกดความเปนสวนตวในการใชงานหองพกมากยิงขึน
ิ
็
ี
ั
้
่
ิ
ิ
่
156