Page 38 - The 13th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 38

ุ
                                                    ิ
                                                                            ั
                   แนวทางการออกแบบเชิงไบโอฟลกในสถาปตยกรรมเพือสนบสนนพฤตกรรมทเปนมิตรตอ
                                                                        ่
                                                                                                
                                                                                                       
                                                                                              ี
                                                                                       ิ
                                                                                              ่
                                                           ิ
                                                       
                                    ่
                                   สงแวดลอมสำหรับสงเสรมประสิทธิภาพของอาคารเขยว
                                    ิ
                                                                                      ี
                 Biophilic Design Guild in Architecture to Support Pro-environmental Behavior
                                            For Green Building Performance
                                                  ุ
                                        ิ
                                      พรมา  ไพบลยพฒพงศ พสฐพนจจนทร วนสสุดา  ไชยมนตร   3 ี
                                                 
                                               ู
                                                                 ั
                                                               ิ
                                                                     2
                                                                         ั
                                                                     
                                                              ิ
                                                       1
                                                   ิ
                                                       
                                                           ิ
                                                          ิ
               บทคัดยอ
                      
                                                                                                           ื
                                                                                                           ่
                                           ั
                       ในชวงไมกี่ปที่ผานมาความย่งยืนไดกลายเปนความสนใจรวมกันของสาขาวิชาตางๆ ในงานสถาปตยกรรมรูจักกันในชอ
               สถาปตยกรรมยั่งยืนหรืออาคารเขียว หลายปที่ผานมาผลการศึกษาพบวาอาคารเขียวไมประสบผลสำเร็จเนื่องมาจากพฤติกรรม
               ของผูใชงานอาคารเขียว โดยการออกแบบเชิงไบโอฟลิกเปนแนวทางการออกแบบที่มุงเนนดานการเชื่อมตอกับธรรมชาติ ซง
                                                                                                           ึ
                                                                                                           ่
               สงเสริมพฤติกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอันเปนปจจัยสำคัญตอประสิทธิภาพอาคารเขียว การศึกษานี้เปนการทบทวน
               วรรณกรรมเพื่อการแนวทางการออกแบบเชิงไบโอฟลิกที่สามารถเติมเต็มชองวางของมาตรฐานอาคารเขียว ผลการศึกษาพบวา
                                                                                                            
               แนวทางการออกแบบเชิงไบโอฟลิกสามารถเติมเต็มชองวางในดานรูปทรง ความงาม และแรงบันดาลใจ ซึ่งในมาตรฐานอาคาร
               เขียวมีเกณฑที่มีแนวทางเชิงไบโอฟลิกอยูบางในปจจัยดานแสงธรรมชาติ ทัศนียภาพภายนอกอาคาร การระบายอากาศตาม
                                                  
               ธรรมชาติ และการใชตนไมในอาคาร และมชองวางในปจจยดานการตกแตง การออกแบบพืนท และแรงบันดาลใจในสมผัสทงหา
                                                         ั
                                                                    
                                                                                   ่
                                                                                   ี
                                                                                 ้
                                                                                                          
                                                                                                        ้
                                
                                                                                                        ั
                                              ี
                                               
                                                                                                    ั
                               
                                   ิ
                                                         ิ
                                                              ่
                                                            
               คำสำคญ: การออกแบบเชงไบโอฟลิก   พฤตกรรมทเปนมตรตอสิงแวดลอม  ประสิทธิภาพของอาคารเขียว
                                               ิ
                     ั
                                                    ่
                                                    ี
                                        
                                                      
               Abstract
                       In recent years,  sustainability  has become  the  common interest of  numerous disciplines.  In
               architecture, it is known as Sustainable Architecture, Green Building. Over the years, the studies have shown
               that green buildings are not successful due to the behavior of green building users. Biophilic design is a design
               concept about connection with nature to promotes pro-environmental behavior, the key factor in green
               building performance. This study is a literature review for biophilic design guidelines that can fill the gaps in
               green building standards. The results showed that biophilic design can fill gaps in form, beauty and inspiration.
               Some of the biophilic design patterns are  in the standard in terms of natural  light, landscapes, natural
               ventilation and indoor green elements. And there is a gap in term of decoration, space design and inspiration
               in the five senses.
               Keywords: Biophilic Design, Pro-environmental behavior, Green Building Performance
                                         ิ
                                                    
                                      ั
                    ู
                  ั
                         
                                                                     
                                                                            ิ
               1 หลกสตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบณฑต สาขาวิชาสถาปตยกรรมเขตรอน คณะสถาปตยกรรม ศลปะและการออกแบบ
                                       ุ
                สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
                                   
                                     
                                                                                       
                                                      ิ
                                                
                                                                                          
                                                                                           ุ
                         
               2 ภาควิชาสถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรม ศลปะและการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
                         
                                                                                       
               3 ภาควิชาสถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรม ศลปะและการออกแบบ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณทหารลาดกระบัง
                                                      ิ
                                                
                                                                                           ุ
                                                                                          
                                                           30
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43