Page 137 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 137

th
                Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







               3. ทบทวนวรรณกรรม

                      ทัศนคติและพฤติกรรม
                      ทัศนคติมีผลต่อพฤติกรรมของบุคคลที่มีต่อผลิตภัณฑ์ ทัศนคติเกิดจากส่วนประกอบดังนี้

                      1. ความเข้าใจ (Cognition) แสดงถึงความรู้ การรับรู้ และความเชื่อของบุคคลที่มีต่อผลิตภัณฑ์ จากประสบการณ์

                                                                                    ่
                                                                                ั
                                                                                                  �
                                                                                      �
                                                                                    ี
                                                                 ็
                                               ั
                                            ิ
                                                                        ่
                                                                        ื
               โดยตรง  เช่น  ประสบการณ์การใช้ผลตภณฑ์ด้วยตนเอง  การเหนบุคคลอนใช้ผลิตภณฑ์ททาให้เกิดการจดจาลักษณะทาง
               กายภาพหรือการใช้งานผลิตภัณฑ์นั้น เป็นต้น กระตุ้นให้บุคคลเกิดการประเมินค่า ตีความในผลิตภัณฑ์
                      2. ความรู้สึก (Affective) คือ ความรู้สึกหรืออารมณ์ของบุคคลจากการประเมินผลิตภัณฑ์ เช่น พึงพอใจ ไม่พึงพอใจ
               ดี  ไม่ดี  เห็นด้วย  ไม่เห็นด้วย  เป็นต้น  (Schiffman  and  Kanuk,  2007)  ทั้งนี้ความรู้สึกส่วนนี้จะเกิดขึ้นหลังจากที่บุคคลมี
               ความรู้ ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ หากมีการรับรู้เชิงลบว่าผลิตภัณฑ์ก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือลดความนับถือในตนเอง
               บุคคลจะเกิดความรู้สึกกังวลและไม่มั่นใจส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้งานผลิตภัณฑ์
                                                                                       ี
                      ความรู้ความเข้าใจในไม้เท้าขาเดียวของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อม ท�าให้เกิดความรู้สึกท่น�าไปสู่พฤติกรรมการเลือกใช้
                                                                     ื
               หรือไม่เลือกใช้งานไม้เท้าขาเดียว
                      ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติ
                      บุคคลมักหลีกเลี่ยงใช้งานผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และอุปกรณ์อ�านวยความสะดวก  เช่น  ไม้ค�้ายัน  ไม้เท้า  เพราะ

               ส่งผลให้ภาพลักษณ์ผู้ใช้แปลกแตกต่างจากบุคคลอื่นในสังคม เนื่องจากปัจจัยดังต่อไปนี้
                      1. แรงกระตุ้นจากผลิตภัณฑ์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท�าหน้าท่เป็นส่งเร้าอารมณ์ส่งผลท�าให้บุคคลแสดงความรู้สึกเชิงลบ
                                                                  ี
                                                                      ิ
               ออกมา ประกอบด้วย
                                                                                                 ี
                        1.1  ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์  คือ  รูปร่าง  และลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ท่บุคคลมีความรู้
               ความเข้าใจ ตีความในผลิตภัณฑ์นั้น จากประสาทสัมผัสการมองเห็น การได้ยิน การได้กลิ่น และการสัมผัส เช่น เมื่อพบเห็น

                                                                              ี
               บุคคลสวมใส่หน้ากากอนามัย ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์สามารถบ่งบอกหน้าท่การใช้งานได้ว่าผู้สวมใส่มีภาวะเจ็บป่วย
               ที่อาจก่อการแพร่เชื้อโรค เป็นต้น
                                                           ั
                                                            ิ
                                                                  ิ
                                                                                                         ุ
                                                                                                       ั
                                                                                                  ี
                                                                                           ี
                                                                    ั
                                                                                           ่
                                                     ุ
                                        ั
                                     ิ
                             ุ
                                                  ึ
                        1.2  คณภาพผลตภณฑ์  หมายถง  คณสมบตของผลตภณฑ์ในด้านประโยชน์ใช้สอยทก่อผลเสยต่อตวบคคล
               ทั้งในลักษณะเป็นผู้ใช้งานหรือบุคคลรอบข้างที่มีส่วนเกี่ยวข้อง  เช่น  การใช้งานรถเข็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหวในพื้นที่ที่มี
               ขนาดจ�ากัดอาจส่งผลกระทบต่อบุคคลอื่นที่ใช้พื้นที่ร่วมกันในการเดินทาง เป็นต้น (Vaes. 2014)
                        การรับรู้ลักษณะทางกายภาพและคุณภาพไม้เท้าขาเดียวของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมจึงมีส่วนส่งผลต่อ
                                                                                            ื
               พฤติกรรมการเลือกใช้งานไม้เท้าขาเดียว
                      2. ประสบการณ์ของผู้สูงอายุ หรือเหตุการณ์ท่ผู้สูงอายุประสบมาในชีวิต (Life-Changing Events) มีผลต่อความรู้สึก
                                                         ี
               ทัศนคติ พฤติกรรมและความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปตามประสบการณ์นั้น (Moschis. 1996) ซึ่งขึ้นอยู่กับประสบการณ์ที่
               เกิดขึ้นในแต่ละช่วงอายุของแต่ละบุคคล ดังนี้
                        2.1  ประสบการณ์การเปล่ยนแปลงตามวัยของบุคคล เป็นกระบวนการเปล่ยนแปลงข้นพ้นฐานท่บุคคลต้องประสบ
                                                                                       ั
                                                                                          ื
                                                                                               ี
                                                                               ี
                                            ี
                     ื
               เช่น  เม่อเข้าสู่วัยสูงอายุจะเกิดการเปล่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  ระบบ  อวัยวะจะมีการเส่อมสภาพ  ด้านสังคมเกิดการลด
                                                                                    ื
                                            ี
                                                                                                  ั
                                                    ึ
               บทบาทสถานภาพทางสังคมหรือเกษียณงาน  ซ่งอาจส่งผลกระทบต่อทัศนคติของผู้สูงอายุท่ท�าให้ขาดความม่นใจในตนเอง
                                                                                     ี
               ไม่กล้าเข้าสังคม เป็นต้น
                        2.2  ประสบการณ์เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ หมายถึง เหตุการณ์ในอดีตที่บุคคลได้ประสบ เช่น บุคคลที่อยู่
               ในช่วงเศรษฐกิจตกต�่าย่อมมีทัศนคติเชิงบวกต่อการเก็บออมมากขึ้น เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์เฉพาะที่มีความจ�าเป็น
               Vol.  8                                      132
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142