Page 139 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 139
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
5. วิเคราะห์ข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม และการสัมภาษณ์ทัศนคติสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่มีต่อรูปลักษณ์
ื
ี
ื
ไม้เท้าขาเดียวโดยหาความสัมพันธ์เชิงเน้อหาเพ่อจ�าแนกกลุ่มสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมตามทัศนคติท่มีต่อรูปลักษณ์ไม้เท้า
ื
ี
ื
ขาเดียว
6. สรุปผลทัศนคติสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีต่อรูปลักษณ์ไม้เท้าขาเดียว อภิปรายผล และให้ข้อเสนอแนะ
5. ผลการวิจัย
ผู้วิจัยน�าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ภายใต้กรอบแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและ
พฤติกรรมผู้บริโภคในรูปที่ 1 โดยมีรายละเอียดดังนี้
5.1 แรงกระตุ้นจากผลิตภัณฑ์
ั
สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมแสดงความรู้สึกท้งเชิงบวกและเชิงลบจากความรู้ ความเข้าใจถึงคุณลักษณะและ
ื
คุณภาพของไม้เท้าขาเดียวผ่านการมองเห็นและการใช้งานดังนี้
5.1.1 ลักษณะทางกายภาพของไม้เท้าขาเดียว ผู้วิจัย พบว่าสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมทั้ง 27 คน เข้าใจว่า
�
ไม้เท้าขาเดียวเป็นท่อกลวงทรงกระบอกยาวจากระดับมือถึงพ้นขณะยืนเพ่อการรับน้าหนัก ท�าจากวัสดุอลูมิเนียมหรือสแตนเลส
ื
ื
สามารถปรับระดับได้ ที่จับมีลักษณะโค้งหรือแนวตรง และส่วนที่สัมผัสพื้นจะสวมจุกยางเพื่อป้องกันการลื่น ดังรูปที่ 2 โดย
ร้อยละ 55.6 มีความรู้สึกเชิงลบมองว่าไม้เท้าขาเดียวเป็นอุปกรณ์ส�าหรับผู้ท่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือมีอายุมาก
ี
ร่างกายอ่อนแอ เจ็บป่วย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ร้อยละ 29.6 มีความรู้สึกเชิงบวกมองว่าไม้เท้าขาเดียวเป็นสิ่งที่ช่วยป้องกัน
ไม่ให้เกิดการหกล้มหรืออุบัติเหตุ และร้อยละ 14.8 มีความรู้สึกปกติไม่มีทิศทางเชิงบวกหรือลบโดยมองว่าไม้เท้าขาเดียวเป็น
อุปกรณ์ช่วยเดิน
รูปที่ 2 ลักษณะทางกายภาพของไม้เท้าขาเดียว
ที่มา: http://www.rehabmart.com/product/round-handle-standard-aluminum-cane-10973.html
5.1.2 คุณภาพผลิตภัณฑ์ ผลจากประสบการณ์ตรงของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท้งลักษณะเป็นผู้ใช้งาน
ั
ื
หรือผู้มีความเกี่ยวข้องกับผู้ใช้งานที่ท�าให้รับรู้ถึงคุณภาพไม้เท้าขาเดียว ดังนี้
1. สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่ไม่มีความรู้สึกทั้งเชิงบวกหรือลบต่อคุณภาพไม้เท้าขาเดียวเพราะไม่มี
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 63.0
ี
2. สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่มีความรู้สึกเชิงบวกต่อคุณภาพไม้เท้าขาเดียวว่าเป็นส่งท่ช่วยป้องกัน
ิ
ี
ื
ี
ไม่ให้เกิดการหกล้มหรืออุบัติเหตุ เพราะมีประสบการณ์เป็นผู้ดูแลบุคคลในครอบครัว เช่น คู่สมรส พ่อแม่ ท่มีความเก่ยวข้องกับ
ี
ี
การใช้งานไม้เท้าขาเดียว จึงท�าให้มีความรู้ ความเข้าใจผลดีท่ได้จากการใช้งานและผลเสียจากการไม่ใช้งาน คิดเป็นร้อยละ 22.2
Vol. 8 134