Page 140 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 140
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ี
�
ี
ื
3. สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่มีความรู้สึกเชิงลบต่อคุณภาพไม้เท้าขาเดียวหรือร่มท่นามาใช้ช่วย
พยุงตัว แทนไม้เท้าขาเดียว เพราะลักษณะท่าทางการใช้งานไม้เท้าขาเดียวแสดงให้เห็นถึงความผิดปกติทางร่างกายด้านการ
เคลื่อนไหว เป็นผู้มีความอ่อนแอ มีบุคคลรอบข้างเข้ามาให้การช่วยเหลือ คิดเป็นร้อยละ 7.4
4. สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่มีความรู้สึกเชิงบวกต่อคุณภาพไม้เท้าขาเดียว เพราะมีประสบการณ์เส่ยง
ี
ี
ื
ต่อการล้ม เมื่อใช้งานไม้เท้าขาเดียวจึงมีความรู้ ความเข้าใจว่าเป็นสิ่งที่ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการหกล้มหรืออุบัติเหตุ คิดเป็น
ร้อยละ 7.4
ั
ี
ื
สังเกตว่าสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่ไม่มีความรู้สึกท้งเชิงบวกหรือลบต่อคุณภาพไม้เท้าขาเดียวเพราะไม่ม ี
ื
ี
ประสบการณ์เก่ยวข้องกับการใช้งานมาก่อน ทัศนคติของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่มีต่อไม้เท้าขาเดียวจึงมาจากการจดจา �
ี
ี
�
�
ลักษณะทางกายภาพผลิตภัณฑ์ผ่านประสาทสัมผัสท่ทาให้เกิดประสบการณ์นามาสู่การประเมินไม้เท้าขาเดียวไปในทิศทาง
เชิงบวกหรือลบ
5.2 ประสบการณ์ของผู้สูงอายุ
ทัศนคติของสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมมีการเปลี่ยนแปลงตามเหตุการณ์ในชีวิตดังนี้
5.2.1 การเปลี่ยนแปลงตามวัยของบุคคล
ั
ึ
่
่
ั
ิ
ี
่
ื
่
ั
่
่
ึ
ี
้
ั
่
้
ุ
้
5.2.1.1 ดานรางกายซงในวจยฉบบน หมายถง ระดบความรนแรงของโรคขอเขาเสอมทสงผลตอทศนคต ิ
สตรีผู้สูงอายุ ผู้วิจัยพบว่าสตรีผู้สูงอายุท่มีความรุนแรงของโรคระยะปานกลางจะมีการทากิจกรรมลดลงเนื่องจากลักษณะอาการ
�
ี
ั
ื
่
ึ
ปวดเขาส่งผลต่อการเคล่อนไหวร่างกายทาให้ไมสามารถเดินระยะทางไกลและบางคร้งมีอาการเข่าอ่อนแรงขณะเดิน จงไม่ต้องการ
่
�
ออกนอกที่พักอาศัย คิดเป็นร้อยละ 55.6 ส่วนผู้ที่มีความรุนแรงของโรคระยะเริ่มต้น ลักษณะอาการค่อนข้างน้อยมีเพียงเสียง
ดังในข้อขณะเคลื่อนไหวและปวดตึงเข่าบางครั้งจึงไม่ส่งผลกระทบต่อการท�ากิจกรรมในชีวิตประจ�าวัน คิดเป็นร้อยละ 44.4
ี
ึ
5.2.1.2 ด้านสังคมซ่งในวิจัยฉบับน้ หมายถึง การลดบทบาทสถานภาพทางสังคมที่ส่งผลต่อทัศนคต ิ
สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม ผู้วิจัยพบว่าสตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ยอมรับการเข้าสู่วัยสูงอายุที่เป็น
ผู้มีสมรรถภาพ ความสามารถในการท�ากิจกรรมทางสังคมได้น้อยลงหรือเกษียณงาน คิดเป็นร้อยละ 88.9 ส่วนสตรีผู้สูงอายุ
โรคข้อเข่าเสื่อมที่มีความรู้สึกไม่พึงพอใจต่อการลดบทบาทสถานภาพทางสังคมเพราะร่างกายมีความแข็งแรง ท�ากิจกรรมได้
เป็นปกติ คิดเป็นร้อยละ 11.1
5.3 พฤติกรรมผู้สูงอายุต่อผลิตภัณฑ์
้
ิ
้
ี
ั
้
่
ผสงอายโรคขอเข่าเสอมมทศนคตตอไมเทาขาเดยวทงเชงบวกและเชงลบสงผลตอพฤตกรรมการเลอกใชไมเทา ้
ิ
ื
ิ
่
้
่
้
ุ
้
ู
ู
ิ
ั
่
ื
ี
้
ขาเดียวดังนี้
ี
ู้
ื
�
ี
1. สตรผสูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่มีทัศนคติเชิงบวกต่อไม้เท้าขาเดียว การเลือกใช้งานจะคานึงถึงด้านความแข็งแรง
มั่นคงมาก่อนด้านรูปลักษณ์ คิดเป็นร้อยละ 29.6
ื
ี
2. สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่มีทัศนคติเชิงลบต่อไม้เท้าขาเดียว เลือกใช้ร่มในการช่วยพยุงตัวแทนไม้เท้า
ั
ขาเดียวเพราะแฝงการใช้งานเพ่อกันแดดอีกท้งมีความหลากหลายทางรูปลักษณ์และลักษณะในการเลือกใช้งาน คิดเป็นร้อยละ
ื
22.2 และอ�าพรางความสูงอายุหรือความอ่อนแอเจ็บป่วยทางร่างกาย คิดเป็นร้อยละ 14.8
3. สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีทัศนคติเชิงลบต่อไม้เท้าขาเดียว การเลือกใช้งานจะค�านึงถึงด้านรูปลักษณ์
เพราะไม้เท้าท�าให้รู้สึกว่าผู้ใช้เป็นคนป่วยหรือมีความสูงอายุมาก คิดเป็นร้อยละ 18.5
ื
ั
ี
4. สตรีผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเส่อมท่มีทัศนคติไม่เป็นท้งเชิงบวกหรือเชิงลบ เลือกใช้งานไม้เท้าขาเดียวได้ทุกรูปลักษณ์
คิดเป็นร้อยละ14.8
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
135 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.