Page 157 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 157
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
แนวทางการออกแบบอุปกรณ์หั่นและตัดเพื่อตอบสนองพฤติกรรม
การประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
Design Guidelines Slicing and Cutting Equipment to Meet the
Cooking Behavior of Preschool Children
มุทิตา สายจารุสิทธิ์ เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม 2
1
บทคัดย่อ
งานวิจัยน้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ คือ น�าเสนอแนวทางการออกแบบอุปกรณ์ห่นและตัดเพ่อตอบสนอง
ี
ื
ั
พฤติกรรมการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กและครูผู้สอนระดับช้นปฐมวัยโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร
ั
ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรม สภาพปัญหาและผลกระทบการใช้งานอุปกรณ์ห่นและตัดในการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัยอาย ุ
ั
ึ
3-5 ปี สัมภาษณ์เชิงลึกครูผู้สอนถึงพฤติกรรมการใช้งานอุปกรณ์ห่นและตัดของเด็กปฐมวัยท่เกิดข้นในระหว่างการจัดกิจกรรม
ั
ี
ั
ี
ั
ื
ประกอบอาหารจากน้นวิเคราะห์เน้อหา พบว่าปัจจัยส�าคัญท่มีผลต่อการก�าหนดแนวทางการออกแบบรูปแบบอุปกรณ์ห่นและ
ตัดที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้ใช้งาน คือ 1) ปัจจัยด้านกายภาพ 2 ประเด็น คือ กายภาพของเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย
ช่วงอายุ พัฒนาการและขนาดสัดส่วนร่างกาย พฤติกรรมและความสามารถของเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย พฤติกรรมการหยิบ
็
้
่
้
้
ั
ื
ื
่
จบอปกรณ ทกษะและความสามารถในการใชกลามเนอมดเลกสวนของขอมอ มอ และนวมอ การเคลอนไหวของมอ การออกแรง
ื
ื
ื
ื
้
ิ
์
ั
ั
ุ
้
ของมือ และความคล่องแคล่วของมือ 2) ปัจจัยด้านการใช้งาน คือ ความปลอดภัย ความสะดวกสบายในการหยิบจับใช้งาน
การเคลื่อนย้าย การท�าความสะอาด และการจัดเก็บ 3) ปัจจัยด้านรูปแบบ คือ รูปแบบผลิตภัณฑ์ที่แสดงถึงความเป็นมิตร
ี
โครงสร้างและวัสดุไม่มีส่วนแหลมคมท่ก่อให้เกิดอันตราย สีสันสวยงามน่าใช้ ผิวสัมผัสท่สร้างความกระชับในการหยิบจับ
ี
ขนาดเหมาะสมกับสัดส่วนร่างกายของเด็ก แนวทางการออกแบบ คือ การปรับรูปร่างของผลิตภัณฑ์และการใช้งานพร้อมอุปกรณ์
เสริมความปลอดภัยให้ใช้งานได้อย่างสะดวกสบายและไม่เป็นอันตรายต่อเด็กปฐมวัยแม้ในขณะท่ไม่มีครูผู้สอนหรือผู้ใหญ่
ี
ดูแล ง่ายต่อการหยิบจับใช้งาน การเคลื่อนย้าย การท�าความสะอาด และการจัดเก็บ รูปแบบผลิตภัณฑ์ต้องมีความเป็นมิตร
คือ โครงสร้างและวัสดุไม่มีส่วนแหลมคมที่ก่อให้เกิดอันตราย สีสันสวยงามน่าใช้ ผิวสัมผัสที่สร้างความกระชับในการหยิบจับ
ขนาดเหมาะสมกับสัดส่วนร่างกายและการใช้งานของเด็ก สร้างความรู้สึกเชิงบวกให้แก่ผู้ใช้งานและผู้พบเห็น เพื่อประโยชน์
สูงสุดต่อการเรียนรู้ตามเป้าหมายกิจกรรมการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
ค�าส�าคัญ: แนวทางการออกแบบ อุปกรณ์หั่นและตัด พฤติกรรมการประกอบอาหาร เด็กปฐมวัย
Abstract
This research is a qualitative research with the propose to design guidelines slicing and cutting
equipment to meet the cooking behavior of preschool children, slice and cut to meet the cooking habits of
preschool children. The samples are children and teachers in primary school class in Bangkok. The researchers
observe behavior problems and the impact of the device, slice and cut in preparation of preschool children
aged 3-5 years and in-depth interviewed teachers, the behavior of the device slice and cut of the children
1 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2 ภาควิชาศิลปะอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
Vol. 8 152