Page 155 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 155
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
7.2 ข้อพิจารณาในการออกแบบอุปกรณ์เพื่อป้องกันการยืนยันจ�านวนเข็มผิดพลาดโดยมนุษย์ ได้แก่
1. การจ�าแนกข้อมูลเพื่อลดกระบวนการแปลความจ�านวน
2. การทวนซ�้าข้อมูลเมื่อต้องการ
ื
ี
3. การส่อสารจ�านวนมีวิธีการแสดงจ�านวนท่ท�าให้พยาบาลผ่าตัดเข้าใจตรงกันและสอดคล้องกับประสบการณ์
การปฏิบัติงาน
4. ขนาดมีความเหมาะสมกับพื้นที่การปฏิบัติงาน
5. ต�าแหน่งของการติดต้งสอดคล้องกับพฤติกรรมของพยาบาลผ่าตัด ท่าทางการปฏิบัติงาน ระยะการรับส่ง
ั
เครื่องมือและองศาการเคลื่อนไหวร่างกาย ข้อพิจารณาอื่นเพื่อการออกแบบอุปกรณ์ ได้แก่ น�้าหนักของอุปกรณ์ต้องมีความ
ี
ี
เหมาะสมกับการออกแรงปักพักเข็มท่มีความรวดเร็วแม่นย�า วัสดุท่ใช้ต้องรองรับการรองรับคุณลักษณะทางกายภาพของเข็ม
และไม่ท�าให้เข็มจมลงไปกับวัสดุ สามารถเข้าสู่กระบวนการท�าให้ปลอดเชื้อได้
8. อภิปรายผล
8.1 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยืนยันจ�านวนเข็มผิดพลาดขณะปฏิบัติการผ่าตัด
จากการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับ รณรัฐ สุวิกะปกรณ์กุล (2555) คือ การนับจ�านวนเข็มผิดพลาดที่ท�าให้เกิด
ั
ิ
การนับผิด ว่าเกิดจากความพล้งเผลอหรือไม่ต้งใจของผู้นับจ�านวนเน่องจากส่งรบกวน เช่น การถูกขัดจังหวะ การท�างาน
ื
ั
หลายหน้าที่ของผู้นับจ�านวน การเข้าออกของพยาบาลผู้ผลัดเปลี่ยนเวรเข้ามาในห้องผ่าตัด เป็นต้น และปัจจัยของลักษณะ
ี
ื
เข็มเน่องจากลักษณะรูปทรงของเข็ม องศาความโค้ง และวัสดุเย็บท่แตกต่างกันท�าให้ยากต่อการจ�าแนกจ�านวน สอดคล้องกับ
ี
รณรัฐ สุวิกะปกรณ์กุล (2555) ท่กล่าวถึงปัญหาความผิดพลาดเน่องจากนับเข็มไม่ครบ เข็มท่มีขนาดเล็กอาจตกหล่นในบริเวณ
ี
ื
ผ่าตัดโดยไม่รู้ตัวหรือมองเห็นเข็มภายในร่างกายผู้ป่วยไม่ชัดเจน
8.2 ข้อพิจารณาเพื่อการออกแบบอุปกรณ์เพื่อป้องกันการเกิดความผิดพลาด
งานวิจัยน้ มุ่งประเด็นการเกิดปัญหาการยืนยันจ�านวนเข็ม พบว่าการจ�าแนกข้อมูลเพ่อลดกระบวนการจดจ�า
ี
ื
การทวนซ้าข้อมูลเม่อต้องการ โดยการใช้งานของอุปกรณ์ต้องสอดคล้องกับพฤติกรรมการปฏิบัติงานเดิม เช่นเดียวกับ น้องนุช
ื
�
ภูมิสนธิ์ (2559) กล่าวถึงวิธีการป้องกันความผิดพลาดของมนุษย์ภายในโรงพยาบาล คือ ออกแบบวิธีการที่ลดความจดจ�า
ของข้อมูล ปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลและลดความซับซ้อนของการปฏิบัติงาน แต่ยังไม่พบข้อมูลท่สอดคล้องส�าหรับข้อพิจารณาอ่น
ื
ี
ี
�
ื
ได้แก่ ขนาดของอุปกรณ์ ต�าแหน่งการติดตั้ง น้าหนักและวัสดุเน่องจากเป็นการศึกษาการใช้งานอุปกรณ์เดิมท่ใช้เฉพาะโรงพยาบาล
รามาเท่านั้น ถือเป็นข้อพิจารณาใหม่เพื่อการออกแบบอุปกรณ์ป้องกันความผิดพลาดขณะผ่าตัด
9. ข้อเสนอแนะ
9.1 งานวิจัยนี้เป็นการเก็บข้อมูลกรณีศึกษาภายใต้บริบทเฉพาะของโรงพยาบาลรามาธิบดี
เพ่อการออกแบบอุปกรณ์ป้องกันความผิดพลาดการยืนยันจ�านวน ซ่งแต่ละโรงพยาบาลอาจมีวิธีการยืนยัน
ึ
ื
จ�านวนที่แตกต่างกัน เช่น การใช้งานอุปกรณ์รองรับเข็มเข็มอื่น วิธีการนับเข็ม เป็นต้น จึงเป็นแนวทางส�าหรับการท�าวิจัย
ในอนาคตเพื่อศึกษาข้อมูลเชิงลึกส�าหรับการออกแบบที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงานผ่าตัดของโรงพยาบาลอื่น
9.2 ศึกษาประเภทเข็มที่ใช้ในการผ่าตัด ขนาด สีของวัสดุเย็บที่ติดปลายเข็ม
เพ่อก�าหนดแนวทางการออกแบบการใช้งานอุปกรณ์ให้เหมาะกับการรับรู้และพฤติกรรมการปฏิบัติงานของ
ื
ผู้ใช้งาน
Vol. 8 150