Page 158 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 158

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                that occurred during the cooking event. The content analysis show the key factors affecting the guidelines for
                the design, layout slice and cut, consistent with the behavior of the users are 1) Physical factors: two aspects
                of physical development of young children include the age and body size, behavior and the ability of preschool
                children include behavioral handling equipment, skills and the ability to use the small muscle of wrist hand
                and fingers, movement of the hands, exertion of hands and dexterity of hands. 2) Application factors: safety,
                user convenience in handling application, moving, cleaning and storing. 3) Form factors: the friendly product,
                structural materials with no sharp edges that cause harm, colorful and attractive, compact surface in handling,

                measuring the body of a child. The design guidelines are to adjust the shape of the product and its use with
                safety accessories. It can be used comfortably and harmless to children, even when there is no teacher or
                adult  supervision.  Easy  to  gripe,  operate,  move,  clean  and  store.  Style  products  are  friendly  materials  and
                structures are not sharply causing harm, colorful, attractive to use, compact surface in handling, measuring
                the body of a child. Create a positive feeling to the users and the watchers to maximize the learning goals
                of the cooking activities of preschool children.


                Keywords: Design Guidelines, Slicing and Cutting Equipment, Cooking Behavior, Preschool Children



                1. บทน�า

                                                                                           ื
                       กิจกรรมการเรียนการสอนระดับปฐมวัยเป็นการจัดในรูปแบบบูรณาการผ่านการเล่นเพ่อให้เด็กได้เรียนรู้โดยใช้
                             ้
                             ั
                                      ิ
                          ั
                                                                                                            ิ
                                                                                                         ั
                        ั
                                        ิ
                                                          ื
                                                            �
                ประสาทสมผสทงห้า  ส่งเสรมจนตนาการจากการลงมอทาและการค้นพบด้วยตนเอง  (Piaget.  1952)  สอดคล้องกบดวอ  ้ ี
                (Dewey.  1963)  ที่กล่าวไว้ว่าการเรียนรู้จะได้ผลดีที่สุดควรเกิดจากการลงมือกระท�า  (Learning  by  Doing)  อย่างไรก็ตาม
                เด็กปฐมวัยอายุ 3-5 ปี ไม่สามารถเรียนรู้จากสิ่งที่เป็นนามธรรมได้ จึงควรเรียนรู้โดยการเล่น การลงมือท�า การสืบค้น และ
                การทดลองผ่านสื่อการเรียนรู้แบบรูปธรรมที่มองเห็นและจับต้องได้ โดยค�านึงถึงความเหมาะสมตามวัยและศักยภาพของเด็ก
                แต่ละคนเพ่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้และเกิดการพัฒนาแบบรอบด้านตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย  พุทธศักราช  2546
                         ื
                ดังเช่นกิจกรรมประกอบอาหารส�าหรับ เด็กปฐมวัยที่จัดขึ้นภายในโรงเรียนอนุบาล
                                       �
                       การประกอบอาหารสาหรับเด็กปฐมวัยภายในโรงเรียนอนุบาลเป็นการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการหน่วยสาระการเรียนร ู้
                ต่างๆ เป้าหมายเพื่อส่งเสริมการรับรู้ของประสาทสัมผัสในเรื่องรูป รส กลิ่นและผิวสัมผัส การฝึกใช้งานอุปกรณ์ที่ถูกวิธี และ
                                                               ั
                การฝึกจัดเก็บอุปกรณ์อย่างเป็นระเบียบ  โดยเด็กเรียนรู้ผ่านข้นตอนการประกอบอาหารประเภทต่างๆ  ท่ง่ายไม่ยุ่งยากและ
                                                                                                ี
                ไม่เป็นอันตรายจากลงมือปฏิบัติหยิบจับอุปกรณ์ประกอบอาหารท่เป็นส่อกลางการเรียนรู้ตามข้นตอนท่เหมาะสมกับพัฒนาการ
                                                                                            ี
                                                                 ี
                                                                     ื
                                                                                      ั
                จนเกิดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ซึ่งเด็กทุกคนควรได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เพราะเป็นการช่วยพัฒนาความคิดและ
                การมองเห็นสิ่งรอบตัวอย่างต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ทั้งนี้ครูผู้สอนมีบทบาทส�าคัญในการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการ
                เรียนรู้  รวมถึงการเลือกใช้สื่อและวัสดุอุปกรณ์รูปแบบต่างๆ  ที่เหมาะสม  เพื่อให้กิจกรรมประกอบอาหารเกิดประโยชน์สูงสุด
                ต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
                       อุปกรณ์ประกอบอาหารเป็นส่อการเรียนรู้ท่สาคัญในกิจกรรมประกอบอาหารของเด็กปฐมวัยเพราะสามารถมองเห็น
                                              ื
                                                        ี
                                                         �
                และจับต้องได้  ซึ่งต้องใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก  นิติธร  ปิลวาสน์  (2556)  กล่าวว่า  การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดเล็ก  (Fine-
                Motor Development) เกิดจากการที่เด็กใช้กล้ามเนื้อมือในการหยิบจับ (Manipulative Abilities) สิ่งของต่างๆ ซึ่งการสัมผัส
                                                                    ิ
                                                             ื
                                        ั
                อุปกรณ์ในการประกอบอาหารน้นช่วยให้เด็กพัฒนากล้ามเน้อในส่วนน้วมือ ข้อมือ และมือแบบประสานสัมพันธ์กัน เช่น การใช้
                                                                                             ้
                                                                                             �
                                                               ้
                ช้อนตักอาหารใส่ปากโดยควบคุมไม่ให้หกหรือตกหล่น การเทนาใส่หม้อโดยควบคุมไม่ให้แก้วหล่นหรือนากระเด็นออกจากหม้อ
                                                               �
                            ั
                                                                                                     ื
                หรือการใช้มีดห่นผักให้มีขนาดตามท่ต้องการ  เป็นต้น  นอกจากน้  ยังเป็นการพัฒนาความสามารถในการเคล่อนไหวของ
                                                                   ี
                                             ี
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             153    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163