Page 159 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 159
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
กล้ามเนื้อมัดเล็กและการท�างานประสานสัมพันธ์กันระหว่างมือและตาไปพร้อมกันซ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ อุไร ตันสกุล (2542)
ึ
ื
ี
ท่กล่าวถึงการประกอบอาหารกับความสามารถในการใช้กล้ามเน้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยในสถานศึกษาพบว่า การประกอบ
ื
อาหารส�าหรับเด็กปฐมวัยจะมีความยากง่ายแตกต่างกันออกไปข้นอยู่กับช่วงอายุและความสามารถในการใช้กล้ามเน้อมัดเล็ก
ึ
ิ
ื
ี
ื
ของเด็ก แต่มีเป้าหมายของกิจกรรมท่มุ่งส่งเสริมทักษะความสามารถในการเคล่อนไหวของกล้ามเน้อมัดเล็กในส่วนของน้วมือ
ข้อมือและมือที่เหมือนกัน เด็กปฐมวัยช่วงอายุ 3-5 ปี เริ่มมีการควบคุมกล้ามเนื้อมือเพื่อหยิบจับได้ดีและมีความคล่องแคล่ว
มากขึ้น จึงควรได้รับการส่งเสริมทักษะและความสามารถในเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดเล็กไปพร้อมกัน การประกอบอาหาร
ื
ด้วยวิธีการห่นและตัดเป็นอีกวิธีการหน่งท่ช่วยส่งเสริมทักษะและความสามารถในการเคล่อนไหวของกล้ามเน้อมัดเล็กให้เด็ก
ั
ี
ึ
ื
ได้ใช้งานอุปกรณ์ประกอบอาหารประเภทต่างๆ ตามข้นตอนท่ครูก�าหนดให้ โดยประสานสัมพันธ์กับสายตาในการห่นและ
ั
ั
ี
ตัดวัตถุดิบให้มีลักษณะและขนาดตามต้องการ เพื่อเตรียมไปประกอบอาหารในขั้นตอนต่อไป แม้ว่าเด็กปฐมวัยอายุ 3-5 ปี
จะอยู่ในช่วงวัยเจริญเติบโตท่สามารถควบคุมกล้ามเน้อมือหยิบจับส่งของได้มากข้นแล้ว แต่ลักษณะทางกายภาพ วุฒิภาวะ
ี
ิ
ื
ึ
ั
ั
ั
ั
ื
ู
�
ในการตัดสินใจหรอการระมัดระวังตนเองจากอนตรายขณะใช้งานน้นยงทาได้ไม่เต็มท่เท่าวยผ้ใหญ่ การเลือกใช้อุปกรณ์ห่น
ี
ั
และตัดจึงจ�าเป็นต้องค�านึงถึงความเหมาะสมเพ่อรองรับความสามารถในการใช้งานของเด็กด้วย โดยส�านักงานคณะกรรมการ
ื
การศึกษาเอกชน (2535) ได้กล่าวถึงแนวทางในการจัดกิจกรรมประกอบอาหารส�าหรับเด็กปฐมวัยว่า ต้องค�านึงถึงอันตราย
ั
ุ
่
ี
่
ั
ี
ี
ุ
่
ึ
ุ
ิ
ั
และความปลอดภยโดยเฉพาะอปกรณ์ทเกยวข้องกบของมคมให้มากทสด รวมถงผลการประชมสหวทยาการเพือป้องกน
่
ี
การบาดเจ็บในเด็ก ครั้งที่ 3 (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. 2546) พบว่าเด็กไทยมีความเสี่ยงต่อการใช้ผลิตภัณฑ์
ี
ึ
ี
ี
ท่มีอยู่ในชีวิตประจ�าวัน ซ่งความเส่ยงน้เกิดข้นได้จากการออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ไม่เหมาะสมต่อขนาดและพัฒนาการของเด็ก
ี
ึ
การใช้งานที่ผิดวิธี เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายและการบาดเจ็บแก่ร่างกายได้
ื
ผู้วิจัยลงพ้นที่เพ่อศึกษารูปแบบอุปกรณ์ห่นและตัดในการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัยท่ใช้ในโรงเรียนอนุบาล
ั
ื
ี
จ�านวน 5 แห่ง คือ โรงเรียนอนุบาลขุมทองวิทยา โรงเรียนอนุบาลสามเสนฯ โรงเรียนอนุบาลพิบูลเวศม์ โรงเรียนอนุบาล
วัดปรินายก และโรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์เกษตร พบว่าอุปกรณ์หั่นและตัดที่ใช้ส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบของมีด ลักษณะ
ี
ื
ของอุปกรณ์ดังกล่าวเป็นแบบท่หาได้ง่ายตามท้องตลาดท่วไปไม่ได้ออกแบบเพ่อรองรับพฤติกรรมการหยิบจับใช้งานของเด็กเล็ก
ั
โดยเฉพาะ หากใช้งานอย่างไม่ระมัดระวังและไม่ถูกวิธีอาจเกิดอันตรายกับเด็กได้โดยง่าย อุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบ
ี
ี
ี
ึ
อาหารถือเป็นผลิตภัณฑ์เส่ยงชนิดหน่งท่มีอันตรายโดยตัวเอง เพราะมีองค์ประกอบหลักเป็นใบมีดท่มีความแหลมคม ไม่ม ี
ู
ิ
่
ั
ส่วนป้องกนนวมอจากคมมดโดยตรง อาจก่อให้เกดอนตรายกบผ้ใช้งานได้ทกเมอหากไม่ระมดระวง โดยเฉพาะอย่างยงกบ
ั
ุ
่
ื
ั
ิ
ั
ี
ั
ั
ื
้
ิ
ี
เด็กเล็กท่ยังมีวุฒิภาวะไม่เพียงพอ รวมถึงขนาดของด้ามจับอุปกรณ์ท่ไม่เหมาะสม คือ ด้ามจับท่มีขนาดไม่พอดีกับมือของเด็ก
ี
ี
ส่งผลให้เกิดความไม่สะดวกสบายในขณะใช้งานเพราะหยิบจับได้ไม่กระชับมือ เด็กจึงมีวิธีการจับท่แตกต่างกันออกไปซ่งส่วนหน่ง ึ
ึ
ี
เป็นวิธีการจับอุปกรณ์ท่ไม่ถูกต้อง อาจท�าให้เกิดการพลิกของข้อมือหรืออุบัติเหตุระหว่างการใช้งานได้ ดังน้นการออกแบบ
ั
ี
่
็
อปกรณ์หนและตัดในการประกอบอาหารสาหรบเดกปฐมวัยจงตอง คานงถึงความเหมาะสมตอขนาดพฒนาการและตอบสนอง
ึ
่
�
้
ั
ุ
�
ั
ั
ึ
พฤติกรรมการใช้งานของเด็กในช่วงวัยนั้นด้วย
ิ
ี
อดิศักด์ ผลิตผลการพิมพ์ (2550) กล่าวถึงความเส่ยงในผลิตภัณฑ์ส�าหรับเด็กว่า การจัดการความเส่ยงและสร้างเสริม
ี
ึ
ึ
ี
ิ
ความปลอดภัยโดยการควบคุมผลิตภัณฑ์อันตรายเป็นวิธีหน่งซ่งจะน�าไปสู่ส่งแวดล้อมท่ปลอดภัยแก่เด็กได้ โดยเฉพาะการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้งาน ผลิตภัณฑ์อันตราย (Hazardous Product) สามารถแบ่งตามคุณลักษณะของ
ความเสี่ยงที่เกิดขึ้น (Risk Characterization) ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) ผลิตภัณฑ์มีอันตรายไม่คุ้มกับประโยชน์ที่ได้
ในการใช้ 2) ผลิตภัณฑ์มีอันตรายโดยตัวเองแต่ยังมีประโยชน์ในการใช้เพียงพอ 3) ผลิตภัณฑ์มีอันตรายเมื่อมีการใช้ผิดวิธี
ื
และ 4) ผลิตภัณฑ์มีอันตรายเม่อมีการช�ารุดเสียหายหรือเส่อมสภาพ การจัดการความเส่ยง (Risk Management) ของผลิตภัณฑ์
ี
ื
ี
อันตรายแต่ละประเภทมีวิธีการท่แตกต่างกันออกไป เช่น การก�าจัดผลิตภัณฑ์ออกจากตลาดในประเภทท่ 1 การเปล่ยนแปลง
ี
ี
รูปร่างผลิตภัณฑ์หรือใช้พร้อมอุปกรณ์เสริมความปลอดภัยในประเภทท่ 2 เป็นต้น นอกจากน้น ผลิตภัณฑ์ท่ก่อให้เกิดอันตราย
ี
ั
ี
ี
ิ
ประเภทท่ 2 หรือ 3 ยังสามารถน�ามาใช้โดยจ�ากัดลักษณะผู้ใช้งานได้ เช่น การจ�ากัดกลุ่มอายุในของช้นเล็ก หรือใช้พร้อมกับ
ให้การศึกษาหรือค�าเตือนแก่ผู้ใช้งาน เป็นต้น ส�าหรับอุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบอาหารนั้นจัดอยู่ในประเภทที่ 2 คือ
Vol. 8 154