Page 170 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 170
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
1. บทน�า
ู
้
ี
้
ั
ิ
ั
ู
้
ื
ั
่
่
่
ี
ุ
้
ชางเลยงในประเทศไทยมทงหมด 4,669 เชอก โดยสวนใหญอยภายใตการดแลของสถาบนวจยและบรการสขภาพชาง
้
ิ
แห่งชาติตั้งอยู่ที่จังหวัดสุรินทร์ การรักษาพยาบาลช้างในสถาบันแบ่งออกเป็นหลายแผนกของโรค คือ โรคผิวหนัง โรคระบบ
ทางเดินหายใจ โรคระบบขับถ่ายและสืบพันธุ์ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคระบบตา โรคขาดสารอาหาร แผลบาดเจ็บและ
โรคอื่นๆ ใน พ.ศ. 2558 มีช้างเข้ารักษาพยาบาลทั้งหมด 1,541 ครั้ง โดยแผนกแผลบาดเจ็บเป็นแผนกที่มีช้างเข้ารับรักษา
มากท่สุด คือ 661 คิดเป็นร้อยละ 43 (สถาบันวิจัยและบริการสุขภาพช้างแห่งชาติ. 2558) สอดคล้องกับการลงพ้นท่สัมภาษณ์
ี
ี
ื
ื
�
กลุ่มสัตวแพทย์ในสถาบันพบว่าสัตวแพทย์ให้ความสาคัญกับการรักษาแผลบาดเจ็บโดยเฉพาะบริเวณเท้าช้าง เน่องจากเท้า
ของช้างเป็นอวัยวะที่ส�าคัญเป็นล�าดับต้นของช้าง เท้าของช้างเป็นอวัยวะที่มีการสัมผัสกับสภาพแวดล้อมมากที่สุด ช้างเลี้ยง
ั
ั
ั
ั
ท่วไปจะใช้เวลายืนมากกว่า 20 ช่วโมงต่อวัน และจะล้มตัวลงนอนประมาณ 3 ช่วโมงต่อวันเท่าน้น ส่วนช้างท่ป่วยหรือบาดเจ็บ
ี
�
ี
ั
้
จะยืนตลอดเวลาโดยไม่ล้มตัวลงนอน เท้าจึงเป็นอวัยวะท่รองรับนาหนักท้งหมดของช้างและใช้งานเป็นเวลานาน หากช้างได้รับ
�
้
บาดเจ็บบริเวณเท้าและไม่ได้รับการรักษาอาจทาให้แผลอักเสบลุกลามเข้าสู่ชนไขมันภายในเท้าได้ ทาให้ส่งผลร้ายแรง คอ
ื
�
ั
�
ื
ทาให้ช้างไม่สามารถยืนได้เกิดเป็นแผลกดทับบริเวณอ่นตามร่างกายและเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตได้ ผู้วิจัยศึกษาข้อมูล
ี
ั
ี
พบว่าช้างเล้ยงกว่าร้อยละ 50 มีปัญหาการเจ็บป่วยเก่ยวกับเท้า ถึงแม้ว่า ปัญหาเหล่าน้จะสามารถรักษาได้แต่ผลท่ตามมาน้น
ี
ี
คอติและคณะ (Csuti, Sargentc, & Bechert. 2001) กล่าวว่า อาจท�าให้ช้างพิการหรือเสียชีวิตได้
ิ
�
�
จากการสัมภาษณ์ น.สพ. วีรศักด์ ปินตาวงส์ สัตวแพทย์ชานาญการประจาสถาบันวิจัยและบริการสุขภาพช้างแห่งชาต ิ
วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2558 พบว่า บาดแผลบริเวณเท้าช้างส่วนใหญ่พบบริเวณพื้นเท้าหรือฝ่าเท้าและเล็บเท้า ซึ่งสาเหตุ
เกิดจากการเหยียบเศษแก้ว ตะปู หิน หรือการกระแทกกับตอไม้ บางส่วนพบบริเวณข้อเท้าจะเกิดจากการเสียดสีของโซ่
ลักษณะบาดแผลขึ้นอยู่กับสาเหตุที่เกิดขึ้น คือ การเหยียบตะปู เศษแก้ว ตอไม้ หิน แผลจะมีลักษณะเป็นรูโพรง ในขณะที่
ี
ี
ปากแผลจะเรียบหากโดนของมีคม หรือเป็นแผลถลอกจากการเสียดสี ลักษณะบาดแผลท่พบมากท่สุด คือ แผลรูโพรง สาเหต ุ
ี
ื
ื
�
อาจเกิดจากการทาร้ายของมนุษย์หรือจากอุปนิสัยส่วนตัวของช้างท่มีความซุกซนจึงทาให้เกิดแผลและพ้นเท้าแตก หรือพ้นเท้า
�
บางจากการเดิน เล็บแตกหรือหลุดจากการข้นท่สูง พ้นแข็งหรือหิน การรักษาบาดแผลบริเวณเท้าช้างมีแนวโน้มใช้เวลามากกว่า
ึ
ี
ื
�
บาดแผลบริเวณอ่น แรงกดของนาหนัก การสัมผัสพ้นและส่งแวดล้อมโดยตรง ทาให้มีโอกาสติดเช้อหรือรับเช้อโรคได้มากกว่า
ื
ื
ิ
�
้
ื
ื
ส่วนอื่น และบริเวณที่เกิดแผลก็มีผลต่อการรักษาด้วยเช่นกัน กรณีบาดแผลอยู่บริเวณต�่าจะรักษายากกว่า เนื่องจากเป็นแผล
ที่มีการปิดบัง ซ้อนเร้น ท�าให้พบยาก ใกล้กับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด และเสี่ยงต่อการคุกคามของเชื้อโรคในยามอ่อนแอ
ผู้วิจัยพบข้อมูลเชิงลึกว่า การรักษาบาดแผลที่เท้าช้างมีหลายขั้นตอนแล้วแต่กรณี โดยแบ่งขั้นตอนเป็น 2 ช่วง คือ
�
ี
�
ช่วงขณะทาการรักษาบาดแผลและช่วงการพักฟื้นบาดแผล สัตวแพทย์จากัดพ้นท่ท่ช้างอยู่ในการรักษาบาดแผลลึกเพ่อทา
ื
ี
ื
�
ความสะอาดและรักษาบาดแผล หากบาดแผลร้าย แรง ลุกลาม อักเสบ สัตวแพทย์อาจต้องฉีดยาเพิ่มเติม ถ้าเป็นแผลเปิด
ี
ื
ื
ั
�
หรือแผลมีจานวนมากหรือเป็นแผลท่เรียกว่าแผลชอน ทะลุ หมายถึงมีการติดเช้อและได้รับเช้อท่ด้อยา เท้าช้างท่ป่วยน้นจะต้อง
ี
ื
ี
้
�
ได้รับการแช่นายาเป็นเวลานานประมาณ 20-30 นาที หรือมากกว่าในบ่อแช่นายา การรักษาบาดแผลด้วยการแช่นายาบริเวณ
�
้
�
้
ึ
ื
ื
ื
ื
เท้าช้าง เป็นกระบวนการรักษาหน่งในการรักษาของสัตวแพทย์มีวัตถุประสงค์เพ่อฆ่าเช้อและเสริมสร้างเน้อเย่อบริเวณพ้น
ื
ให้แข็งเนื่องจากเท้าของช้างในปัจจุบัน ส่วนมากเดินบนพื้นแข็ง เช่น พื้นคอนกรีต พื้นลาดยาง เป็นต้น ท�าให้พื้นเท้าแตก
�
ื
้
�
ื
ี
ื
ถ้ายืนในพ้นท่ช้นแฉะ อาจมีเช้อโรคเข้าไปในเท้าได้ การแช่นายาในบางคร้งอาจทาก่อนทาแผลเพราะการแช่มีประโยชน์คือ
ั
�
�
้
่
�
�
ื
ทาให้นายาเข้าไปในบาดแผลได้ลึกกว่า เน่องจากเวลาช้างเหยียบยาในนายาเป็นการใช้แรงกดช่วยดันนายาเข้าไปในบาดแผล
้
�
�
้
่
ี
ิ
่
้
ึ
ิ
ั
ทาให้นายาเข้าไปได้ลก เมอแช่จนครบเวลาทกาหนด สตวแพทย์จะชาระล้างบาดแผลแล้วใส่ยาตามทวนจฉย การแช่นายา
�
ื
่
ี
�
�
้
�
�
ั
เหมือนเป็นการฆ่าเช้อร่วมกับเสริมสร้างพ้นเท้าให้แข็งแรง นายาท่ใช้ในการแช่เพ่อรักษา คือ นาผสมจุนสี (Copper Sulphate)
ื
ื
ื
้
�
ี
้
�
�
้
�
้
ึ
และนาด่างทับทิม (Potassium Permanganate) ซ่งมีลักษณะเป็นด่าง และเพ่อประสิทธิภาพในการรักษาท่ดีต้องให้นายาอยู่กับ
ื
ี
�
้
ี
ิ
บาดแผลในเวลาท่กาหนดอย่างปราศจากส่งรบกวน อุปกรณ์ท่ใช้รักษาโดยวิธีการแช่นายามีหลายรูปแบบซ่งพบปัญหาอุปสรรค
ี
ึ
�
แตกต่างกัน ดังเช่น
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
165 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.