Page 171 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 171
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ี
ี
ี
1. บ่อส�าหรับแช่น�้ายา มีลักษณะเป็นบ่อรูปส่เหล่ยมผืนผ้าดังรูปท่ 1 ขนาด กว้าง 200 x ยาว 300 x ลึก 20 เซนติเมตร
ี
ั
�
วัสดุ คือ ปูนซีเมนต์ รองรับการแช่ได้พร้อมกันท้ง 4 เท้าของช้าง ข้อดีของบ่อแช่น้ายาน้ คือ ความคงทนแข็งแรง ขนาดใหญ่
ี
ในการรองรับขนาดของเท้าช้างและน้าหนักในการยืนของช้าง ข้อเสีย คือ การเป็นบ่อถาวรท่มีขนาดใหญ่จึงเคล่อนย้ายได้ล�าบาก
�
ื
ส่งผลให้ต้องใช้ปริมาณยาจ�านวนมากและไม่สามารถป้องกันการเจือปนของอุจจาระปัสสาวะของช้างได้ ช้างจะเคล่อนไหวเท้า
ื
ตลอดเวลาและใช้งวงดูดน�้ายา ท�าให้ประสิทธิภาพการรักษาลดลง สัตวแพทย์จึงต้องใช้งานควบคู่กับการบังคับด้วยโซ่
ี
2. กระบะเปลผสมปูนพลาสติก เป็นการประยุกต์ใช้ผลิตภัณฑ์ท่มีอยู่ตามท้องตลาด กระบะมีลักษณะเป็นรูปวงร ี
ดังรูปท่ 2 ขนาด กว้าง 80 x ยาว 110 x สูง 30 เซนติเมตร ขนาดบรรจุ 200 ลิตร รองรับการแช่ได้พร้อมกันไม่เกิน 2 เท้า
ี
ข้อดี คือ มีความแข็งแรงปานกลาง ความยืดหยุ่นเล็กน้อยหาได้ง่ายตามท้องตลาดเคล่อนย้ายไปใช้ได้ตามต้องการ แต่ก็ม ี
ื
ข้อเสีย คือ กระบะขนาดใหญ่นี้ไม่สามารถทนต่อการรับน�้าหนักของช้างได้ โดยเฉพาะบริเวณขอบกระบะ อีกทั้งช้างที่ได้รับ
บาดเจ็บเป็นแผลบริเวณเท้าจะมีนิสัยก้าวร้าวส่งผลให้ยากต่อการรักษา ท�าให้การควบคุมช้างให้อยู่นิ่งในช่วงระยะเวลาในการ
ิ
ื
รักษามีความยากล�าบากและอาจต้องใช้ควบคู่กับเคร่องมือบังคับด้วยโซ่หรือการเข้าซอง ขาดการป้องกันส่งเจือปนจากช้าง
และสภาพแวดล้อม จากภายนอกและการใช้งวง ท�าให้ประสิทธิภาพในการรักษาของอุปกรณ์เหล่านี้ลดลงด้วย
3. กระบะผสมปูน เป็นการประยุกต์ใช้แช่น�้ายาบริเวณเท้าช้าง มีลักษณะเป็นอ่างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สีด�า ปากอ่าง
กว้างกว่าก้นอ่างเล็กน้อย วัสดุเป็นพลาสติก ดังรูปที่ 3 ขนาด กว้าง 65 x ยาว 65 x สูง 20 เซนติเมตร รองรับการแช่ได้
พร้อมกันไม่เกิน 1 เท้า ข้อดี คือ มีความแข็งแรงปานกลาง มีความยืดหยุ่น ซึ่งหาได้ง่ายตามท้องตลาด เคลื่อนย้ายไปใช้ได้
�
�
ตามต้องการ น้าหนักเบา ใช้น้ายาปริมาณน้อยลง ข้อเสีย คือ วัสดุไม่ทนต่อน้าหนักของช้างในระยะยาว อาจเหยียบเสียหายได้
�
โดยเฉพาะบริเวณขอบอ่าง ไม่มีการป้องกันส่งเจือปนจากช้างและสภาพแวดล้อมภายนอกและอาจต้องใช้งานควบคู่กับการ
ิ
บังคับโซ่หรือการเข้าซอง
การแช่น�้ายาในปัจจุบันจะใช้กระบะผสมปูนเป็นส่วนใหญ่ เพราะมีความกะทัดรัด เคลื่อนย้ายได้สะดวก และยืดหยุ่น
ี
แต่การใช้ผลิตภัณฑ์น้ต้องมีการบังคับช้างให้อยู่น่งเพ่อประสิทธิภาพท่ดีในการรักษา เช่น การบังคับเข้าซอง บังคับส่วนขา
ื
ิ
ี
และส่วนงวง เป็นเวลานาน ท�าให้เกิดอาการเครียดแก่ช้าง ส่งผลต่อสุขภาพจิตช้างได้ จากปัญหาที่เกิดขึ้นในรักษาด้วยการ
แช่น�้ายา คือ ขนาดของผลิตภัณฑ์ไม่เหมาะสม ผลิตภัณฑ์ขาดความแข็งแรงทนทาน ขาดการป้องกันสิ่งเจือปนจากช้างและ
ั
้
่
ิ
ุ
ิ
่
ั
ิ
้
์
ั
ิ
์
�
้
ั
สงแวดลอมภายนอก และขาดปองกันจากพฤตกรรมของชาง จากการสมภาษณกลมสตวแพทยประจาสถาบนวจยและบรการ
สุขภาพช้างแห่งชาติ ด้านความต้องการด้วยรูปแบบผลิตภัณฑ์ พบว่ามีความต้องการผลิตภัณฑ์ที่แข็งแรงทนทาน ใช้งานได้
้
ื
่
ิ
ี
ั
่
ั
็
้
ั
้
ั
้
้
ี
่
้
้
สะดวก ใชงานไดกบชางทโตเตมวย ใชงานไดกบเทาทกขางของชาง มรปแบบและขนาดทสอดคลองกบพฤตกรรมการเคลอนไหว
ู
ี
ุ
้
้
ของช้าง ท้งการยืนและการเดินท่สามารถอุ้มน้ายาได้ในระยะเวลาท่ก�าหนด และลดช่วงเวลาการบังคับช้างลงได้ เม่อพิจารณา
ื
ั
ี
�
ี
แล้วจึงมีหลักการใช้งานที่คล้ายรองเท้า
รูปที่ 1 บ่อส�าหรับแช่น�้ายา
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
Vol. 8 166