Page 165 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 165
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
ี
1. ปัจจัยด้านกายภาพ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของเด็กปฐมวัยท่มีผลต่อการก�าหนดแนวทาง
การออกแบบ แบ่งออกเป็น 2 ประเด็นส�าคัญ ดังนี้
ึ
1.1 กายภาพของเด็กปฐมวัย คือ ช่วงอายุ พัฒนาการ และขนาดสัดส่วนร่างกาย ซ่งมีผลต่อการก�าหนด
ึ
ี
�
็
ั
่
ิ
ั
ั
ิ
็
ิ
ั
โครงสร้างผลตภณฑ์ เพราะเดกปฐมวยร่างกายยงเจรญเตบโตได้ไม่เตมท การออกแบบจงต้องคานงถงความเหมาะสมกบ
ึ
ึ
ช่วงวัย พัฒนาการ และขนาดสัดส่วนของเด็กปฐมวัยอายุ 3-5 ปี เพื่อลดข้อจ�ากัดด้านการใช้งาน โดยมีขนาดที่เหมาะสมและ
สอดรับกับสรีระเด็กปฐมวัยสามารถหยิบใช้งานได้สะดวก
1.2 พฤติกรรมและความสามารถของเด็กปฐมวัย คือ พฤติกรรมการหยิบจับอุปกรณ์ ทักษะและ
ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กส่วนของข้อมือ มือ และนิ้วมือ การเคลื่อนไหวของมือ การออกแรงของมือ และความ
คล่องแคล่วของมือ โดยการออกแบบจะต้องตอบสนองต่อพฤติกรรมและความสามารถของเด็กปฐมวัยในการใช้งานผลิตภัณฑ์ได้
2. ปัจจัยด้านการใช้งาน คือ ความปลอดภัยและสะดวกสบายในการหยิบจับใช้งาน การเคล่อนย้าย
ื
การท�าความสะอาด และการจัดเก็บ
ี
3. ปัจจัยด้านรูปแบบ คือ รูปแบบอุปกรณ์ท่แสดงถึงความเป็นมิตร โครงสร้างและวัสดุไม่มีส่วนแหลมคม
ที่ก่อให้เกิดอันตราย สีสันสวยงามน่าใช้ ผิวสัมผัสที่สร้างความกระชับในการหยิบจับ ขนาดเหมาะสมกับสัดส่วนร่างกายและ
การใช้งานของเด็ก
4.1.3 แนวทางการออกแบบอุปกรณ์หั่นและตัดที่ตอบสนองต่อพฤติกรรมการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย
ื
ั
ดังท่กล่าวแล้วเบ้องต้นว่า รูปแบบอุปกรณ์ท่ใช้ในการเรียนการสอนน้นไม่ได้ออกแบบให้เหมาะสมกับเด็ก
ี
ี
ต้งแต่ต้น รูปแบบของด้ามจับยังไม่สอดรับกับขนาดมือของเด็กจึงใช้งานไม่สะดวกเพราะหยิบจับไม่กระชับมือ ท�าให้การควบคุม
ั
ั
ี
ั
อุปกรณ์และการออกแรงกดเพ่อห่นและตัดเป็นไปได้ยาก ส่งผลถึงวิธีการหยิบจับอุปกรณ์ท่ไม่ถูกต้อง รวมท้งปลายมีดและ
ื
ั
ี
ื
ใบมีดท่ยังมีความแหลมคมอยู่อาจเกิดอันตรายกับเด็กในขณะใช้งานและการเคล่อนย้ายอุปกรณ์ได้ ดังน้น เพ่อลดข้อจ�ากัด
ื
ั
ทางการใช้งานระหว่างอุปกรณ์ห่นและตัดกับเด็กปฐมวัย ผู้วิจัยจึงมุ่งหวังในการน�าทฤษฏีและแนวคิดทางการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ส�าหรับเด็กมาแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการสรุปข้อมูลเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบแนวทางการออกแบบรูปแบบอุปกรณ์
หั่นและตัดเพื่อตอบสนองพฤติกรรมการประกอบอาหารส�าหรับเด็กปฐมวัย โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 3 ดังนี้
ตารางที่ 3 แสดงการสรปข้อมลเพอใช้เป็นแนวทางการออกแบบรปแบบอปกรณ์หนและตดเพอตอบสนองพฤตกรรมการ
่
ั
ั
่
ื
ิ
ู
ื
ู
ุ
่
ุ
ประกอบอาหารส�าหรับเด็กปฐมวัย
การสรุปข้อมูลเพื่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบ
ด้านโครงสร้างของผลิตภัณฑ์
ความสัมพันธ์ของปัจจัย ลักษณะทางกายภาพของเด็กปฐมวัยที่มีผลต่อการก�าหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ คือ ช่วงอายุ
พัฒนาการ และขนาดสัดส่วนร่างกายในส่วนของข้อมือ มือ และนิ้วมือ
เป้าหมายของการ การออกแบบที่ลดข้อจ�ากัดด้านการใช้งาน โดยค�านึงถึงความเหมาะสมกับช่วงวัย พัฒนาการ
ออกแบบ และขนาดสัดส่วนของเด็กปฐมวัยอายุ 3-5 ปี
แนวทางการออกแบบ การปรับรูปร่างและโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ให้มีรูปแบบที่
ไม่ซับซ้อนและลดความอันตรายจากส่วนแหลมคม มีขนาด
เหมาะสมสอดคล้องกับสรีระเด็กปฐมวัยที่สามารถหยิบใช้งาน
ได้สะดวกนั่นคือขนาดของด้ามจับมีเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 4.5 เซนติเมตร ความยาวของด้ามจับที่กระชับมือ
ประมาณ 10 เซนติเมตร
Vol. 8 160