Page 167 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 167
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ื
ั
ดังกล่าวมาใช้ในการออกแบบรูปแบบอุปกรณ์ห่นและตัดในการประกอบอาหารเพ่อส่งเสริมพัฒนาการส�าหรับเด็กปฐมวัย ช่วงอาย ุ
3-5 ปี โดยใช้หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ส�าหรับเด็กก�าหนดรูปแบบของอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับวัย พัฒนาการ ความสนใจ
ื
พฤติกรรมและทักษะความสามารถในการใช้กล้ามเน้อมัดเล็ก เพ่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการจัดกิจกรรมส�าหรับเด็ก
ื
ั
ี
ู
ั
ปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทธศกราช 2546 ท่กล่าวว่าการจัดการเรียนร้ส�าหรับเด็กปฐมวัยต้องอาศยส่อและ
ุ
ื
แหล่งการเรียนรู้ที่ดีและเหมาะสมเพื่อให้เด็กพัฒนาตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
4.2 การอภิปรายผล
จากการศึกษาข้อมูลเพ่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบรูปแบบอุปกรณ์ห่นและตัดเพ่อตอบสนองพฤติกรรม
ั
ื
ื
ื
ื
การประกอบอาหารส�าหรับเด็กปฐมวัย ผู้วิจัยให้ความส�าคัญของเร่องรูปแบบและความปลอดภัยเพราะเป็นพ้นฐานส�าคัญ
ในการออกแบบผลิตภัณฑ์หรือการเลือกใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับเด็กโดยตรง ดังที่ อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ (2550) ได้ให้
ื
ี
ี
ความส�าคัญกับการออกแบบเพ่อปรับรูปร่างของผลิตภัณฑ์โดยเฉพาะกับผลิตภัณฑ์ท่มีความเส่ยงกับพฤติกรรมการใช้งานของ
ั
เด็กเพราะช่วยลดข้อจ�ากัดด้านการใช้งานที่เกิดขึ้นได้ เด็กจึงสามารถลงมือปฏิบัติจากการใช้งานผลิตภัณฑ์ดังกล่าวน้นได้อย่าง
เต็มที่และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ซึ่งแนวทางการออกแบบ คือ การปรับรูปร่างของผลิตภัณฑ์และ
การใช้งานพร้อมอุปกรณ์เสริมความปลอดภัยสามารถใช้งานได้อย่างสะดวกสบายและไม่เป็นอันตรายต่อเด็กปฐมวัยแม้ในขณะท ่ ี
ไม่มีครูผู้สอนหรือผู้ใหญ่คอยดูแล ง่ายต่อการหยิบจับใช้งาน การเคลื่อนย้าย การท�าความสะอาด และการจัดเก็บ รูปแบบ
่
้
ี
ู
ู้
้
ู
ี
ึ
ผลิตภัณฑ์ต้องมีความเป็นมิตรทสรางความร้สกเชิงบวกให้แก่ผใชงานและผ้พบเห็นคือโครงสร้างและวัสดุมความปลอดภัยไม่ม ี
ี
ส่วนประกอบท่มีความแหลมคมและเส่ยงต่ออันตราย ผิวสัมผัสท่สร้างความกระชับในการหยิบจับ สีสันสวยงาม ขนาดเหมาะสม
ี
ี
กับสัดส่วนร่างกายและการใช้งานของเด็กปฐมวัย
5. บทสรุป
ึ
ผลจากการศึกษาพฤติกรรม สภาพปัญหา ผลกระทบของการใช้งานอุปกรณ์ห่นและตัดท่เกิดข้นในกิจกรรมประกอบ
ี
ั
ี
่
่
้
ึ
ี
ั
ั
ี
อาหารของเดกปฐมวัย ท�าให้ผวจยรถงสภาพปญหาทแทจรงสงผลถงปจจยท่มผลตอการออกแบบ คอ 1) ปจจยดานกายภาพ
ิ
ื
่
็
ั
ิ
้
ู
ึ
้
ั
ั
ั
ู
้
2) ปัจจัยด้านการใช้งาน 3) ปัจจัยด้านรูปแบบ เพื่อประโยชน์ในการท�าวิจัยเรื่องรูปแบบอุปกรณ์หั่นและตัดในการประกอบ
ื
ื
ั
ั
ิ
อาหารเพ่อส่งเสริมพัฒนาการส�าหรับเด็กปฐมวยอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยแนวทางการออกแบบเพ่อปรบรูปร่างของผลตภัณฑ์
ี
และการใช้งานพร้อมอุปกรณ์เสริมความปลอดภัย ซ่งเป็นการออกแบบท่เหมาะส�าหรับเด็กเพราะตอบสนองต่อพฤติกรรม
ึ
ึ
ี
ในการใช้งานและสร้างความปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์ท่มีความเส่ยงได้มากข้น ช่วยลดข้อจ�ากัดด้านการใช้งาน รองรับพฤติกรรม
ี
ี
่
ี
การใช้งาน ไม่สร้างความรู้สึกเชิงลบแก่ผู้ใช้งานและผู้พบเห็นด้วยรูปร่างและขนาดทเหมาะสมต่อสรระของเด็กปฐมวัย ค�านึงถึง
ผิวสัมผัสในการถือ หยิบ จับได้อย่างกระชับมือ สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกสบายและไม่เป็นอันตรายต่อเด็กปฐมวัยแม้ใน
ขณะที่ไม่มีครูผู้สอนหรือผู้ใหญ่คอยดูแล ง่ายต่อการท�าความสะอาดและจัดเก็บ โดยรูปแบบผลิตภัณฑ์แสดงถึงความเป็นมิตร
ี
ั
รูปร่างรูปทรง สีสัน ลวดลายดูน่าใช้งาน ท้งน้เพ่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการเรียนรู้ตามเป้าหมายกิจกรรมการประกอบอาหาร
ื
ของเด็กปฐมวัย
6. ข้อเสนอแนะ
ื
การออกแบบผลิตภัณฑ์ส�าหรับเด็กท่ดีน้นไม่ใช่เพ่อความสวยงามน่าใช้เพียงอย่างเดียว แต่ควรก�าหนดวัตถุประสงค์
ั
ี
ของการออกแบบให้ชัดเจน โดยค�านึงถึงเรื่องของโครงสร้าง วัสดุ รูปร่างรูปทรง ขนาด น�้าหนัก สี ลวดลาย พื้นผิว ข้อมูล
พ้นฐานทางจิตวิทยา พัฒนาการของเด็ก และประโยชน์ท่เด็กจะได้รับจากการใช้งานผลิตภัณฑ์ช้นน้นๆ รวมถึงเร่องของความ
ื
ื
ิ
ี
ั
ี
ึ
ปลอดภัยซ่งเป็นส่วนส�าคัญท่สุดของการออกแบบผลิตภัณฑ์ส�าหรับเด็ก ท้งนี้เพ่อส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัต ิ
ั
ื
ได้อย่างเต็มที่ เกิดการพัฒนาทักษะและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัยอย่างเต็มตามศักยภาพในแต่ละคน
Vol. 8 162