Page 175 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 175

Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017
                                                    th







                                                                                  ื
                        จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ คือ มีความแข็งแรงทนทานสวมใส่และถอดออกง่าย เน่องจากเป็นเพียงสายคาด ผลิตภัณฑ์
               มีส่วนประกอบหลายส่วนจึงท�าให้ซ่อมแซมง่าย  จุดด้อยของผลิตภัณฑ์  คือ  ขาดความกระชับ  วิธีการยึดเกาะด้วยการคล้อง
               ด้วยโซ่รอบข้อเท้า

                                                                                                          ี
                                                                             ื
                                                                        �
                        การศึกษาและวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ใกล้เคียงรองเท้าส�าหรับแช่น้ายาเพ่อรักษาบาดแผลบริเวณเท้าของช้างเล้ยง
               ที่ปรากฏข้างต้น ท�าให้ผู้วิจัยทราบรายละเอียดของแต่ละรูปแบบและประยุกต์ใช้จุดเด่นจุดด้อยของผลิตภัณฑ์ในการออกแบบ
                                                                                          ื
               โดยสามารถสรุปได้  คือ  การใช้วัสดุในผลิตภัณฑ์ท่ศึกษาส่วนใหญ่  พ้นรองเท้าจะท�าจากยาง  เพ่อความยืดหยุ่นและรองร ั
                                                                     ื
                                                      ี
               บน�้าหนักของช้างหรือมีบางส่วนท�าจากโลหะรูปพรรณและโพลียูลิเทนโฟน ส่วนห่อหุ้มเท้าท�าจากผ้าท่มีความทนทานและระบาย
                                                                                         ี
               อากาศได้ดี ส่วนการยึดจะใช้การผูกร้อยเชือกและสายรัดให้กระชับกับเท้าและการล็อกโซ่ อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่
                                                ี
                                                  ่
                                      ั
                                   ี
                               ้
                                          ั
                                                ่
                                              ึ
                                              ่
                                                          ้
                                                                                                   ั
                                                                                                 ิ
                                                                                       ั
                                                                                                          ่
                                                                                                       ั
                                                                                                      ์
                                                                      ่
                                                               ้
                                                            ้
                                                                                      ์
                                                                                ิ
                                                                      ั
                             ื
               ออกแบบเฉพาะเพอชางเพยงตวใดตวหนงทไมสามารถใชไดกับชางโดยทวไป จากการวเคราะหปญหาและผลตภณฑดงกลาว
                             ่
               ผู้วิจัยจึงต้องค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อรูปแบบผลิตภัณฑ์แช่น�้ายาเพื่อรักษาบาดแผลบริเวณเท้าของช้างเลี้ยงอย่างสอดคล้องกับ
                                                                              ื
               ความต้องการของสัตวแพทย์ เพ่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบรองเท้าแช่น้ายาเพ่อรักษาบาดแผลบริเวณเท้าของช้างเล้ยง
                                                                         �
                                                                                                          ี
                                       ื
               ต่อไป
               2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
                      เพื่อค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกแบบรองเท้าส�าหรับแช่น�้ายาเพื่อรักษาบาดแผลบริเวณเท้าของช้างเลี้ยง
               3. วิธีด�าเนินงานวิจัย
                      การวิจัยคร้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพในการค้นหาปัจจัยในการออกแบบรองเท้าแช่น้ายาเพ่อรักษาบาดแผลบริเวณ
                                                                                      �
                                                                                           ื
                              ั
               เท้าของช้างเล้ยง  โดยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลักด้วยการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลวรรณกรรม
                          ี
                           ี
                                                                                               ั
                         ี
               และงานวิจัยท่เก่ยวข้อง สัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มบุคคลากรภายในสถาบันวิจัยและบริการสุขภาพช้างแห่งชาติ ท้งหมด 4 คน ได้แก่
               1) นางสาวภัทร เจริญพันธุ์ ต�าแหน่งนายสัตวแพทย์ช�านาญการพิเศษ และผู้อ�านวยการสถาบันวิจัยและบริการสุขภาพช้าง
               แห่งชาติ 2) นายวีระศักดิ์ ปินตาวงค์ ต�าแหน่งนายสัตวแพทย์ช�านาญการ 3) นายสัญญา คิดอยู่ ต�าแหน่งนายสัตวแพทย์
                                                                              ื
               ช�านาญงาน  และ  4)  นางสาวเบญจมาส  บุญศาสตร์  ต�าแหน่งนายสัตวแพทย์  เพ่อศึกษาข้อมูลการรักษาบาดแผลบริเวณ
               เท้าช้างพฤติกรรมและกายภาพชองช้างท่ได้รับบาดเจ็บและความต้องการของสัตวแพทย์ในการรักษาบาดแผล ณ สถาบันวิจัย
                                              ี
               และบริการสุขภาพช้างแห่งชาติ จังหวัดสุรินทร์ จากนั้น สัมภาษณ์เชิงลึกควาญช้างของพลายทองใบ ช้างเพศผู้ อายุ 70 ปี
                ี
                                                                                                ึ
               ท่ช้างมีแผลบาดเจ็บบริเวณใต้ฝ่าเท้าโดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจงคือ  นายบันเทิง  ยุบรัมย์  อายุ  46  ปี  ซ่งมีประสบการณ์
               การเลี้ยงช้าง 21 ปี ณ หมู่บ้านเลี้ยงช้าง บ้านตากลาง ต�าบลกระโพ อ�าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ถึงข้อมูลด้านพฤติกรรม
                          ี
               ของช้างขณะท่บาดเจ็บ ขณะเดียวกัน ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมช้าง คือ พลายทองใบซ่งมีแผลบาดเจ็บบริเวณใต้ฝ่าเท้าด้านหน้า
                                                                              ึ
               ข้างขวา ขนาดประมาณ 5 เซนติเมตร ดังกล่าวด้วย
                          ั
                      จากน้นการส�ารวจรูปร่าง  ขนาดขาและเท้าช้างของช้างเล้ยง  ได้แก่  เส้นรอบวง  เส้นผ่านศูนย์กลาง  และความสูง
                                                                 ี
               โดยการสุ่มเลือกช้างที่มีช่วงอายุโตเต็มวัยทั้งหมด 18 เชือก โดยแบ่งเป็นช้างพัง 15 เชือก ช้างพลาย 3 เชือก
                      สุดท้าย ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ทั้งหมด สังเคราะห์เพื่อค้นหาปัจจัยที่ส่งผลต่อรูปแบบรองเท้าส�าหรับ
               แช่น�้ายาเพื่อรักษาบาดแผลบริเวณเท้าของช้างเลี้ยง

               Vol.  8                                      170
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180