Page 166 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 166

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                           ่
                                                                    ู
                                                                          ุ
                                        ู
                                   ุ
                                           ื
                                                                                ั
                                                                                         ่
                                                                                                      ิ
                ตารางที่ 3  แสดงการสรปข้อมลเพอใช้เป็นแนวทางการออกแบบรปแบบอปกรณ์หนและตดเพอตอบสนองพฤตกรรมการ
                                                                                         ื
                                                                                      ั
                                                                                ่
                          ประกอบอาหารส�าหรับเด็กปฐมวัย (ต่อ)
                                            การสรุปข้อมูลเพื่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบ
                  ด้านหน้าที่ใช้งานและความปลอดภัย
                  ความสัมพันธ์ของปัจจัย พฤติกรรมการหยิบจับอุปกรณ์ ทักษะและความสามารถใน การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
                                       การเคลื่อนไหว การออกแรง และความคล่องแคล่วของมือ
                  เป้าหมายของการ       การออกแบบที่ลดข้อจ�ากัดด้านการใช้งาน โดยค�านึงถึงพฤติกรรมความสามารถในการใช้งาน
                  ออกแบบ               ของเด็กปฐมวัยอายุ 3-5 ปี
                  แนวทางการออกแบบ      การออกแบบพร้อมอุปกรณ์เสริมเพื่อเพิ่มความปลอดภัยและ
                                       ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อเด็ก ด้วยการเพิ่มผิวสัมผัสเพื่อความ
                                       กระชับและป้องกันการลื่นหลุดมือในขณะใช้งาน วัสดุที่ใช้คือ
                                       พลาสติกหรือซิลิโคนยางที่มีผิวสัมผัสนุ่มและยืดหยุ่น น�้าหนัก
                                       เบา สามารถหยิบจับและเคลื่อนย้ายได้สะดวก ง่ายต่อการ

                                       ท�าความสะอาดและจัดเก็บ
                  ด้านรูปแบบของผลิตภัณฑ์

                  ความสัมพันธ์ของปัจจัย ความชอบและความสนใจของเด็กปฐมวัยมีผลต่อการก�าหนดรูปแบบของผลิตภัณฑ์ คือ
                                       รูปร่างรูปทรง สีสัน ลวดลาย
                  เป้าหมายของการ       รูปแบบที่แสดงถึงความเป็นมิตร คือ รูปร่าง รูปทรง สีสัน ลวดลายดูน่าใช้งาน ไม่สร้าง
                  ออกแบบ               ความรู้สึกเชิงลบแก่ผู้ใช้งานและผู้พบเห็น

                  ด้านโครงสร้างของผลิตภัณฑ์

                  แนวทางการออกแบบ      รูปแบบอุปกรณ์ที่แสดงถึงความเป็นมิตรต่อเด็กคือ การใช้
                                       รูปร่างและรูปทรงธรรมชาติ สัตว์ หรือเร่องราวต่างๆ ท่ใกล้ตัว
                                                                                 ี
                                                                      ื
                                       หรืออยู่ในความสนใจของเด็กปฐมวัย อายุ 3-5 ปี การเลือก
                                       ใช้ลวดลายและสีสันที่สดใส สวยงามน่าใช้งาน โดยอยู่ภายใต้
                                       จิตวิทยาสีและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์ส�าหรับเด็ก

                ที่มา: ผู้วิจัย (2559)



                                                                                           ั
                                จากตารางการสรุปข้อมูลเพ่อใช้เป็นแนวทางการออกแบบรูปแบบอุปกรณ์ห่นและตัดเพ่อตอบสนอง
                                                      ื
                                                                                                     ื
                พฤติกรรมการประกอบอาหารสาหรับเด็กปฐมวัยดังกล่าว ผู้วิจัยแบ่งเน้อหาออกเป็น 3 ด้าน คือ 1) ด้านโครงสร้างของผลิตภัณฑ์
                                                                    ื
                                        �
                2) ด้านหน้าที่ใช้งานและความปลอดภัย 3) ด้านรูปแบบของผลิตภัณฑ์ โดยข้อมูลแต่ละส่วนแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์กับ
                      ี
                ปัจจัยท่มีผลต่อการกาหนดแนวทางการออกแบบ ท้งเร่องของกายภาพเด็กปฐมวัย คือ ช่วงอายุ พัฒนาการ และขนาดสัดส่วน
                                �
                                                         ื
                                                       ั
                ร่างกายในส่วนของข้อมือ  มือ  และนิ้วมือ  พฤติกรรมการหยิบจับอุปกรณ์ทักษะและความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
                การเคลื่อนไหว  การออกแรง  และความคล่องแคล่วของมือ  รวมถึงความชอบและความสนใจของเด็กปฐมวัย  ซึ่งท�าให้ผู้วิจัย
                                                                                                        ี
                สามารถหาแนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้ตรงตามเป้าหมายของการออกแบบสอดคล้องกับนักวิชาการหลายท่านท่กล่าวว่า
                การออกแบบผลิตภัณฑ์สาหรับเด็กท่ดีนั้นควรก�าหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนซ่งต้องคานึงถึงเร่องของวัสดุ  ขนาด  นาหนัก
                                            ี
                                                                                                         ้
                                                                                                         �
                                    �
                                                                                 �
                                                                                        ื
                                                                            ึ
                รูปทรง โครงสร้าง สีสัน ลวดลาย พื้นผิว ข้อมูลพื้นฐานทางจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็กที่สาคัญ คือ เรื่องของประโยชน์
                                                                                        �
                                                                                                        �
                ที่เด็กจะได้รับรวมทั้งเรื่องของความปลอดภัยที่เป็นส่วนส�าคัญที่สุดของการออกแบบผลิตภัณฑ์ส�าหรับเด็ก ผู้วิจัยได้นาข้อมูล
                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             161    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171