Page 174 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 174

th
 Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







                                                                                              ื
                                                             ั
                                                                        ื
                                                                                                    ิ
                                                  �
                         ลักษณะผลิตภัณฑ์เป็นรองเท้าสาหรับช้างทรงส้น ออกแบบเพ่อป้องกับบาดแผลจากความช้นและส่งสกปรกผลิต
                                              ้
                            ื
                                              �
                จากผ้าใบและพ้นเป็นยางในการรองรับนาหนักช้าง จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ คือ รองเท้าป้องกันความช้นได้ท่มีขนาดพอดี กระชับ
                                                                                          ื
                                                                                               ี
                กับเท้าของช้าง  จุดด้อยของผลิตภัณฑ์  คือ  การระบายอากาศบริเวณเล็บเท้าช้างอาจได้น้อย  โดยเฉพาะบริเวณพื้นรองเท้า
                และเป็นรองเท้าเฉพาะพังสิริ นั่นคือใส่ได้เพียงตัวเดียวเท่านั้น
                       4. รองเท้าแตะส�าหรับช้าง ฮูเซอร์ ไซม่อน และอาร์สตรอง (House, Simmons & Armstrong. 2001) อธิบายว่า
                รองเท้านี้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในกรณีที่มีการรักษาแผลที่เป็นฝีโดยการผ่าตัดเอาเนื้อเยื่อที่เป็นฝีออก  การผ่าตัดนี้ต้องตัดเอาส่วน
                เนื้อเยื่อที่ติดเชื้อ รวมไปถึงเนื้อเยื่อข้างเคียงและส่วนของเล็บที่ได้รับผลของเชื้อทิ้งไปอย่างรวดเร็วด้วย รวมถึงตัดเนื้อเยื่อชั้น
                                                       ั
                                         ื
                                           ื
                                                                                               ี
                                                 ี
                                      ั
                                                                                  ี
                                                                             ื
                                                                                           ื
                Soft  Tissue  ออกจนกระท่งเน้อเย่อส่วนท่เป็นฝีท้งหมดจะแห้งและผลิตเน้อเย่อใหม่ท่แข็งแรง  พ้นท่ท่ถูกตัดเน้อเย่อท้งไป
                                                                                              ี
                                                                          ื
                                                                                                         ื
                                                                                                      ื
                                                                                                           ิ
                มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 25 ของฝ่าเท้า เนื้อเยื่อที่เหลือยู่ คือ เนื้อเยื่อส่วน Soft Tissue ที่มีอ่อนแอ ท�าให้อาจเกิดบาดแผล
                และการติดเชื้ออื่นตามได้
                         ลักษณะผลิตภัณฑ์เป็นเหมือนรองเท้าแตะ ทรงสั้น การออกแบบค�านึงถึงปัจจัย 4 ปัจจัย ได้แก่ 1) ป้องกันชั้น
                หนังแท้และชั้นผิวหนังที่อ่อนนุ่มจากความเสี่ยงที่จะเกิดบาดแผลเพิ่มเติม 2) ใช้ใส่น�้ายาที่ใช้รักษาแผลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
                                                                   �
                                                      ื
                                                                                              ื
                                  ึ
                    �
                การทางานให้ยาวนานข้น 3) มีการถ่ายเทอากาศเพ่อให้แผลแห้งเร็ว ทาให้ลดการเกิดและเจริญเติบโตของเช้อโรค และ 4) ปกป้อง
                แผลจากสารปนเปื้อนทั้งหลาย เพื่อรักษาสภาพแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอโดยมียางสังเคราะห์ 2 ชั้นเป็นตัวช่วยปกป้อง
                ฝ่าเท้า  ป้องกันไม่ให้สิ่งปนเปื้อนต่างๆ  เข้าไปได้  มีความทนทานมาก  ระบายอากาศได้ดี  และปกป้องเท้าช้างจากของเหลว
                  ี
                                                                   ึ
                ท่ปนเปื้อนเช้อโรคโดยใช้วัสดุโฟมโพลียูรีเทนท่หนาเป็นส่วนช่วย  ซ่งโฟมจะวางอยู่ระหว่างฝ่าเท้าและพ้นผิวของรองเท้าแตะ
                                                                                              ื
                          ื
                                                   ี
                สิ่งส�าคัญ คือ การช่วยป้องกันการกระทบกระเทือนแผลจากความยืดหยุ่นของวัสดุและสามารถท�าหน้าที่เหมือนผ้าพันแผลได้
                                                                                          ั
                                                                                    ี
                                                                              ้
                                   ้
                                   �
                                                                                                  ั
                                                                            ื
                โฟมทาหน้าท่เป็นตัวรับนาหนักของช้างเวลายืนและต้องคืนตัวกลับสู่สภาพเดิม เม่อนาหนักท่กดมาน้นหายไป น่นหมายถึงการม ี
                          ี
                                                                              �
                     �
                ความสามารถที่จะต้านแรงกดที่ลงมาสู่พื้นรองเท้าตลอดเวลาได้ ซึ่งตรงกับลักษณะพิเศษชองโฟมที่สามารถคืนตัวได้หลังจาก
                                                                                              ี
                                      ี
                                           ี
                การถูกกด  โฟมยังทาหน้าท่ได้ดีเย่ยมในการป้องกันเช้อโรคสู่ฝ่าเท้าและการช่วยให้ยาอยู่แนบกับด้านท่เป็นแผล  นอกจากน  ี ้
                                �
                                                          ื
                โฟมมีคุณสมบัติระบายอากาศได้ดีจึงท�าให้แผลแห้งได้ไวขึ้น  โดยมีรูปแบบดังรูปที่  7  มีวัสดุ  คือ  สายรัด  สายพานที่ท�าจาก
                ผ้าฝ้าย แบบแข็ง หมุดตอกยึด วงแหวนส�าหรับยึดหมุด เข็มขัดหนัง เส้นด้ายที่ท�าจากเคฟลาร์ โซ่ โพลียูรีเทนโฟม

                                รูปที่ 7 รายละเอียดของรองเท้าแตะส�าหรับช้าง ที่สวนสัตว์โอมาฮา เฮนรี่ ดอร์ลีย์
                                            ที่มา: Houser, Simmons. & Armstrong (2001)








                                                                    ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                             169    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179