Page 176 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 176
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
4. ผลการศึกษาและอภิปรายผล
ผู้วิจัยวิเคราะห์และสรุปผลตามวัตถุประสงค์จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
ิ
้
�
้
ั
ั
่
้
�
ั
ั
่
4.1 ปจจยดานขอมูลการสัตวแพทยส่งผลต่อการออกแบบรองเทาสาหรบแชนายาเพือรกษาบาดแผลบรเวณ
์
้
เท้าของช้างเลี้ยง
เมื่อช้างเกิดแผลบาดเจ็บที่บริเวณเท้าเข้ารับการรักษาสัตวแพทย์สอบถามควาญช้างถึงประวัติ สาเหตุการเกิด
และต�าแหน่งบาดแผลก่อนท�าการรักษา บาดแผลที่พบมากบริเวณเท้าช้าง จะอยู่ที่ต�าแหน่งใต้ฝ่าเท้า มีบางส่วนพบที่บริเวณ
ข้อเท้า โดยลักษณะบาดแผลใต้ฝ่าเท้าที่พบมากที่สุด มีลักษณะเป็นรูโพรง กว้าง 2-10 เซนติเมตร ลึก 2-20 เซนติเมตร
รองลงมา คือ เล็บแตกและพื้นเท้าบาง เมื่อเริ่มรักษาอาจมีการฉีดยาเพื่อให้อาการช้างสงบลง จากนั้นสัตวแพทย์จะตรวจแผล
�
และค้นหาส่งแปลกปลอมในบาดแผล และวินิจฉัยวิธีการรักษา และทาความสะอาดและใส่ยาแผล หากต้องรักษาด้วยวิธีแช่นายา
�
้
ิ
�
ี
้
�
้
�
�
้
ี
แพทย์จะใช้เตรียมอุปกรณ์ต่างท่ใช้ในวิธีการแช่นายา โดยผสมตัวยากับนาสะอาดเทใส่ในกระบะสาหรับแช่ นายาท่ใช้ส่วนใหญ่
คือ น�้าผสมจุนสี (Copper Sulphate) และน�้าด่างทับทิม (Potassium Permanganate) ซึ่งมีลักษณะเป็นด่าง ความเข้มข้น
ึ
ี
และปริมาณท่ใช้ข้นอยู่กับการวินิจฉัยของสัตวแพทย์ การรักษาอาจมีการบังคับเข้าซองหรือไม่ข้นอยู่กับอุปนิสัยของช้างและ
ึ
ระยะเวลาในการรักษา ระยะเวลาในการรักษาและความถี่จะขึ้นอยู่กับการวินิจฉัยของสัตวแพทย์ ลักษณะบาดแผลและความ
รุนแรง การแช่น�้ายาใช้เวลาตั้งแต่ 20-120 นาที การแช่นานเกินไปอาจท�าให้เนื้อเยื่อส่วนอื่นๆ ตายได้ ความถี่ในการรักษา
เช่น วันละครั้ง สองวันครั้ง หรือ สัปดาห์ละครั้ง แล้วแต่ความรุนแรงของบาดแผล
4.2 ปัจจัยด้านพฤติกรรมช้างท่มีแผลบริเวณเท้าส่งผลต่อการออกแบบรองเท้าสาหรับแช่นายาเพ่อรักษา
ื
ี
�
�
้
บาดแผลบริเวณเท้าของช้างเลี้ยงในประเทศไทย
ี
ึ
ิ
ึ
ี
ช้างท่ได้รับบาดเจ็บอาจมีนิสัยก้าวร้าวเพ่มข้นและระมัดระวังมากข้น พฤติกรรมท่แสดงออกเป็นผลมาจากอาการ
ิ
่
ั
ี
ิ
ิ
่
่
ั
่
้
็
ิ
ื
ั
บาดเจบ ทงการยน การเดน และการใช้งวง ดังน้นพฤตกรรมเหลาน้ยอมสงผลตอการปฏบัตงานของสตวแพทย์และเจ้าหน้าท ี ่
ในการรักษา การยืน โดยธรรมชาติแล้วช้างจะไม่ยืนอยู่น่งๆ จะมีการเคล่อนไหวโยกตัวไปมาตามลักษณะนิสัยของช้างแต่ละตัว
ิ
ื
ี
ี
้
ื
แต่ช้างท่บาดเจ็บบริเวณเท้าจะลงนาหนักบริเวณเท้าท่บาดเจ็บน้อยกว่าเท้าอ่นๆ จะยกเท้าขึ้นลงเป็นระยะการเดิน ช้างท่บาดเจ็บ
ี
�
บริเวณเท้าจะเดินน้อยกว่าปกติเนื่องจากอยู่ในช่วงการรักษา โดยปกติแล้วช้างเดินลงเต็มฝ่าเท้าทั้ง 4 เท้า การเดินแต่ละครั้ง
่
ี
�
�
�
ี
จะก้าวอย่างสมาเสมอ เท้าหลังจะก้าวเหยียบซารอยเท้าหน้าเสมอ เท้าหน้าทาหน้าท่สารวจตรวจสอบพื้นท่ท่จะเหยียบว่า
�
้
ี
มีอันตรายหรือไม่ แต่ช้างที่มีแผลบาดเจ็บ หากจ�าเป็นจะต้องเดินจะลงน�้าหนักเท้าที่บาดเจ็บน้อยละเบากว่าขาอื่นๆ รวมทั้ง
จะมีการส�ารวจพื้นที่จะลงน�้าหนักเท้าข้างที่บาดเจ็บด้วยงวงว่ามีสิ่งแปลกปลอมหรือของแข็งที่จะส่งผลต่อเท้าที่มีแผลบาดเจ็บ
การใช้งวง งวงของช้างเป็นอุปสรรคในการรักษาอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นช้างทั่วไปหรือช้างที่บาดเจ็บ แต่ช้างที่มีแผลบาดเจ็บ
จะใช้งวงมาสัมผัสบริเวณแผลมากขึ้นกว่าปกติ ปัด แคะ แกะ พ่น บริเวณที่เป็นแผล ท�าให้ส่งผลเสียต่อแผลและการรักษา
�
4.3 ปัจจัยด้านกายภาพขาและเท้าส่งผลต่อการออกแบบรองเท้าสาหรับแช่นายาเพ่อรักษาบาดแผลบริเวณ
ื
�
้
เท้าของช้างเลี้ยง
ผลการสารวจเพ่อค้นหาปัจจัยด้านกายภาพของขาและเท้าช้าง พบว่าขาช้างมีลักษณะเป็นทรงกระบอกขนาดใหญ่
ื
�
ี
ี
ขาหน้าจะยาวกว่าขาหลังเล็กน้อย ส่วนท่มีเส้นรอบวงกว้างท่สุดจะอยู่บริเวณต้นขา และส่วนท่เส้นรอบวงน้อยท่สุดอยู่ท่ข้อเท้า
ี
ี
ี
ข้อพับท่ขาหน้ากับขาหลังจะแตกต่างกัน โดยขาหน้าจะมีข้อพับ 2 จุดแต่ขาหลังจะมี 1 จุด ดังรูปท่ 8 เท้าช้างประกอบไปด้วย
ี
ี
เล็บเท้า นิ้วเท้า ฝ่าเท้า และโครงสร้างในอุ้งเท้า โดย 1) เล็บเท้าหน้าแต่ละข้างมี 5 เล็บ เท้าหลังแต่ละข้างมี 4 แต่บางตัว
่
ั
ั
ี
�
่
ั
้
ื
ิ
้
ี
ั
่
ู
้
้
ิ
ู
เทาหลงม 5 เลบ มลกษณะโคงนนออกมาจากเทาอยตดกบพน 2) นวเทามความยาวเทาๆ กน และเรยงตวกนอยางสมาเสมอ
ั
่
ั
้
็
้
ี
ี
ช่วยในการกระจายน�้าหนัก 3) ฝ่าเท้ามีลักษณะหนามีร่อง ช่วยในการเดินในพื้นที่ธรรมชาติ และช่วยป้องกันอันตรายที่อาจ
เกิดกับเท้า ฝ่าเท้าหน้ามีลักษณะกลมและฝ่าเท้าหลังลักษณะค่อนข้างรี บริเวณฝ่าเท้าของช้างเป็นช้นของ Keratin ท่หนา
ั
ี
เรียกว่า Keratinized Sole ที่มีความหนา 4-12 มิลลิเมตร และมีการเจริญในอัตรา 0.5-1 เซนติเมตร ต่อแผ่นนี้สามารถ
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
171 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.