Page 43 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 43
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการอยู่อาศัยของประชากรที่ท�าการศึกษาในพื้นที่ (ต่อ)
ตัวแปร คุณลักษณะ ความถี่ ร้อยละ
ลักษณะการครอบครอง เจ้าของกรรมสิทธิ์ 132 51.4
ที่อยู่อาศัยปัจจุบัน เช่าซื้อ/ผ่อนช�าระ 32 12.5
เช่ารายเดือน/รายปี 42 16.7
อาศัยกับญาติ 34 13.2
บ้านพักสวัสดิการ 15 5.8
อื่นๆ (ระบุ) 1 0.4
ระยะเวลาในการอยู่อาศัย 1-5 ปี 101 39.3
6-10 ปี 31 12.1
11-15 ปี 27 10.5
16-20 ปี 33 12.8
มากกว่า 20 ปี 65 25.3
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
5.1.3 ความต้องการในการเปลี่ยนแปลงด้านที่อยู่อาศัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ร้อยละ 58.8 มีความต้องการปรับปรุง และ
เปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยเดิม ซึ่งสามารถจ�าแนกรูปแบบการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1) ต้องการ
ี
ี
ปรับปรุงและต่อเติมท่อยู่อาศัยเดิม คิดเป็นร้อยละ 38.5 ของผู้ท่ต้องการเปล่ยนแปลงฯ โดยต้องการปรับปรุง และต่อเติม
ี
ที่อยู่อาศัยเดิม เนื่องจากที่อยู่อาศัยเดิมมีสภาพทรุดโทรมและคับแคบ ตามล�าดับ และ 2) ต้องการเปลี่ยนที่อยู่ใหม่ คิดเป็น
ี
ี
ี
ื
ร้อยละ 20.2 ของผู้ท่ต้องการเปล่ยนแปลงฯ โดยส่วนใหญ่ต้องการต้องการเปล่ยนท่อยู่อาศัย เน่องจากท่อยู่อาศัยเดิมอยู่ห่างไกล
ี
ี
จากสถานที่ท�างาน/สถานศึกษา และต้องการแยกครอบครัว ตามล�าดับ และถ้าหากต้องมีการเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่จะเลือกที่อยู่อาศัยในบริเวณที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 42.4 รองลงมา คือ บริเวณที่ 2 บริเวณที่ 4 และ
บริเวณที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 26.8 21.4 และ 9.3 ตามล�าดับ โดยรายละเอียดการวิเคราะห์สรุปในตารางที่ 3
รูปที่ 2 แผนผังแสดงการก�าหนดบริเวณพื้นที่ท�าการศึกษา (ในเขตผังเมืองรวมเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น)
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
Vol. 8 38