Page 47 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 47
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
th
ตารางที่ 8 สรุปปัจจัยที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเลือกที่อยู่อาศัยใหม่ใกล้สถานีรถไฟความเร็วสูง
ปัจจัย ความถี่ ร้อยละ
1. ต�าแหน่ง/ที่ตั้ง 101 39.3
2. ระยะทางจากที่อยู่อาศัยถึงสถานี 96 26.8
3. ประเภทและรูปแบบที่อยู่อาศัยใหม่ 27 10.5
4. ขนาดที่ดิน 4 1.6
5. ขนาดพื้นที่ใช้สอย 11 4.3
6. ราคา 40 15.6
7. เจ้าของโครงการ/องค์กรที่ดูแลโครงการ 1 0.4
8. อื่นๆ 4 1.6
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ี
ื
ี
5.3.2 ความต้องการด้านพ้นท่ในการต้งสถานีรถไฟความเร็วสูงและพ้นท่ในการพัฒนาท่อยู่อาศัยเพ่อรองรับ
ื
ี
ั
ื
โครงการรถไฟความเร็วสูง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า บริเวณที่ผู้ตอบแบบสอบถามต้องการให้มีการพัฒนาเป็นที่ตั้งสถานีรถไฟ
ื
ี
ี
ี
ี
ี
ความเร็วสูงมากท่สุด คือ บริเวณท่ 1 คิดเป็นร้อยละ 38.9 รองลงมา คือ บริเวณท่ 2 คิดเป็นร้อยละ 35.4 และพ้นท่ท่ผู้ตอบ
แบบสอบถามต้องการให้มีการพัฒนาเป็นที่ตั้งสถานีรถไฟความเร็วสูงน้อยที่สุด คือ บริเวณที่ 3 และ 4 เท่าๆ กัน คิดเป็น
ร้อยละ 12.8 ส่วนพื้นที่ในการพัฒนาที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูง ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ต้องการ
ให้มีการพัฒนาด้านท่อยู่อาศัยเพ่อรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูงมากท่สุดในพ้นท่บริเวณพ้นท่ 1 คิดเป็นร้อยละ 39.7
ี
ี
ื
ี
ี
ื
ื
รองลงมา คือ บริเวณที่ 2 และบริเวณที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 31.5 และ 15.2 ตามล�าดับ และน้อยที่สุด คือ บริเวณที่ 4
คิดเป็นร้อยละ 13.6 รายละเอียดการวิเคราะห์สรุปในตารางที่ 9 โดยรัศมีที่ต้องการให้มีการพัฒนาเป็นที่อยู่อาศัยมากที่สุด
คือ 0.5-1.0 กิโลเมตรโดยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูง รายละเอียดการวิเคราะห์สรุปในตารางที่ 10
ตารางที่ 9 ความต้องการด้านพื้นที่ในการตั้งสถานีและพื้นที่ในการพัฒนาที่อยู่อาศัยเพื่อรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูง
พื้นที่รองรับการพัฒนาที่อยู่อาศัย
พื้นที่ตั้งสถานีรถไฟความเร็วสูง
พื้นที่ เพื่อรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูง
ความถี่ ร้อยละ ความถี่ ร้อยละ
บริเวณที่ 1 100 38.9 102 39.7
บริเวณที่ 2 91 35.4 81 31.5
บริเวณที่ 3 33 12.8 39 15.2
บริเวณที่ 4 33 12.8 35 13.6
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
Vol. 8 42