Page 48 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 48
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ตารางที่ 10 แสดงรัศมีในการพัฒนาที่อยู่อาศัยโดยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูง
ปัจจัย ความถี่ ร้อยละ
รัศมีโดยรอบน้อยกว่า 0.5 กิโลเมตร 33 12.9
รัศมีโดยรอบตั้งแต่ 0.5-1 กิโลเมตร 105 40.9
รัศมีโดยรอบตั้งแต่ 1-1.5 กิโลเมตร 75 29.2
รัศมีโดยรอบตั้งแต่ 1.5 กิโลเมตรขึ้นไป 44 17.1
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
5.3.3 ลักษณะของความต้องการด้านที่อยู่อาศัยในการรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูง
ี
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเก่ยวลักษณะความต้องการ ด้านท่อยู่อาศัย
ี
ั
ู
่
ิ
ในการรองรบโครงการรถไฟความเร็วสง โดยส่วนใหญ่ต้องการทอยู่อาศัยประเภทบ้านเด่ยว คดเป็นร้อยละ 75.1 ต้องการ
ี
ี
ี
ั
ี
อาคารพักอาศัยท่มีความสูง 2 ช้น เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 46.7 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความต้องการขนาดท่ดิน
และพื้นที่ใช้สอยของอาคารประมาณ 51-100 ตารางวา คิดเป็นร้อยละ 50.6 และ 52.9 ตามล�าดับ ส่วนราคาส�าหรับบ้าน
หรือที่อยู่อาศัยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เลือกจะมีราคาประมาณ 1-2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 39.3 และมีความเชื่อมั่น
ในการพัฒนาที่อยู่อาศัยด้วยตัวเองมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 46.3 ทั้งนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่คิดว่าโครงการพัฒนา
รถไฟความเร็วสูงมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกที่อยู่อาศัย ร้อยละ 60.7 รายละเอียดการวิเคราะห์ สรุปในตารางที่ 11
ตารางที่ 11 สรุปลักษณะและความต้องการด้านที่อยู่อาศัยส�าหรับการรองรับโครงการรถไฟความเร็วสูง
ตัวแปร คุณลักษณะ ความถี่ ร้อยละ
ประเภทที่อยู่อาศัย บ้านเดี่ยว 193 75.1
ทาวน์เฮาส์ 22 8.6
อาคารพาณิชยกรรม 24 9.3
อาคารชุดพักอาศัย 13 5.1
อื่น ๆ 5 1.9
รูปแบบอาคารที่อยู่อาศัย อาคารชั้นเดียว 81 31.5
อาคาร 2 ชั้น 120 46.7
อาคาร 3 ชั้น 31 12.1
อาคาร 4 ชั้น 18 7.0
อาคารมากกว่า 4 ชั้น 7 2.7
ขนาดที่ดิน น้อยว่า 50 ตารางวา 43 16.7
51-100 ตารางวา 130 50.6
101-150 ตารางวา 53 20.6
มากกว่า 150 ตารางวา 31 12.1
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
43 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.