Page 45 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 45
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ี
ื
ร้อยละ 14.0 ท่คาดว่าจะไม่ใช้บริการรถไฟความเร็วสูง ส่วนใหญ่ให้เหตุผลในการไม่เลือกใช้บริการเน่องจากสถานีในการให้บริการ
ไม่อยู่ในเส้นทางในการเดินทาง คิดเป็นร้อยละ 52.8 ของผู้ที่ไม่เลือกใช้บริการ รองลงมา คือ มียานพาหนะส่วนตัวอยู่แล้ว
ท่ต้งของจากสถานีอยู่ไกลจากท่อยู่อาศัย รูปแบบการเดินทางปัจจุบันสะดวกแล้ว และราคาค่าบริการสูง รายละเอียดการวิเคราะห์
ี
ี
ั
ี
ี
ี
ี
สรุปในตารางท่ 4 และ 6 ส�าหรับความถ่ท่ผู้ตอบแบบสอบถามคาดว่าจะเลือกใช้บริการรถไฟความเร็วสูงในการเดินทางมากท่สุด
คือ น้อยกว่า 1 ครั้งต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 44.7 ของผู้ที่เลือกใช้บริการ รองลงมาคือ 1-2 ครั้งต่อเดือน 3-4 ครั้งต่อเดือน
และมากกว่า 4 ครั้งต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 33.9, 10.1, 7.4, และ 3.9 ตามล�าดับ รายละเอียดการวิเคราะห์สรุปในตาราง
ที่ 4 ส�าหรับวัตถุประสงค์ในการเลือกใช้บริการรถไฟฟ้าความเร็วสูงของกลุ่มประชากรในพื้นที่ศึกษา ส่วนใหญ่เลือกใช้บริการ
เพื่อการท่องเที่ยวในสถานที่ต่างๆ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 71.0 ของผู้ที่เลือกใช้บริการ รองลงมา คือ เพื่อเยี่ยมเยือนเพื่อน
ี
ื
ื
ี
ื
ื
ื
หรือญาติพ่น้อง เพ่อไปติดต่อประสานงานต่างพ้นท่ เพ่อไปท�างานต่างพ้นท่หรือพ้นท่ข้างเคียง เพ่อไปศึกษาเล่าเรียนต่างพ้นท ่ ี
ื
ี
ื
ี
และอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 46.1, 30.8, 17.6, 16.7 และ 6.8 ตามล�าดับ รายละเอียดการวิเคราะห์สรุปในตารางที่ 7
ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับรถไฟฟ้าความเร็วสูงของกลุ่มประชากรในพื้นที่ศึกษา
ตัวแปร คุณลักษณะ ความถี่ ร้อยละ
การใช้บริการรถไฟความเร็วสูง ใช้ 221 86.0
(ช่วงนครราชสีมา-หนองคาย) ไม่ใช้ 36 14.0
ความถี่ในการเลือกใช้บริการ น้อยกว่า 1 ครั้งต่อเดือน 115 44.7
รถไฟความเร็วสูง 1-2 ครั้งต่อเดือน 87 33.9
(ช่วงนครราชสีมา-หนองคาย)
3-4 ครั้งต่อเดือน 26 10.1
มากกว่า 4 ครั้งต่อเดือน 19 7.4
อื่นๆ 10 3.9
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ตารางที่ 5 สรุปเหตุผลในการเลือกใช้บริการรถไฟฟ้าความเร็วสูงของกลุ่มประชากรในพื้นที่ศึกษา
เหตุผลที่จะเลือกใช้บริการ ความถี่ ร้อยละ
1. ท�าให้เดินทางสะดวก สบาย รวดเร็วมากขึ้น 185 คนจากผู้ที่เลือกใช้บริการ 221 คน 83.7 ของผู้ที่เลือกใช้บริการ
2. สามารถควบคุมเวลาในการเดินทางได้ 91 คนจากผู้ที่เลือกใช้บริการ 221 คน 41.2 ของผู้ที่เลือกใช้บริการ
3. ควบคุมค่าใช้จ่ายในการเดินทาง 54 คนจากผู้ที่เลือกใช้บริการ 221 คน 24.4 ของผู้ที่เลือกใช้บริการ
4. มีความปลอดภัย 59 คนจากผู้ที่เลือกใช้บริการ 221 คน 26.7 ของผู้ที่เลือกใช้บริการ
5. มีจุดเชื่อมต่อการเดินทางสู่จุดหมายได้ง่าย 43 คนจากผู้ที่เลือกใช้บริการ 221 คน 19.5 ของผู้ที่เลือกใช้บริการ
6. อื่นๆ 9 คนจากผู้ที่เลือกใช้บริการ 221 คน 4.1 ของผู้ที่เลือกใช้บริการ
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
Vol. 8 40