Page 69 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 69

th
                Research Proceedings in The 8  Graduate Integrity Conference: April, 2017







               หรือส่วนบุคคล  ส่วนใหญ่ยังเป็นเจ้าของทั้งที่ดินและตัวบ้านเกินกว่า  50  เปอร์เซนต์  โดยเจ้าของบ้านดั้งเดิมเป็นผู้สร้างเอง
               หรือว่าจ้างคนในพื้นที่ที่รู้จักกัน

                                                                                                ี
                              ื
                                                               ี
                                                            ี
                          แต่เน่องจากเศรษฐกิจและลักษณะของสังคมท่เปล่ยนแปลงไป  ท�าให้ในปัจจุบันการท�าหน้าท่ต่อส่วนกลางของ
               ชุมชนจะเป็นไปตามสถานะที่ถูกแต่งตั้งขึ้นมา เช่น ประธานชุมชน ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข เป็นต้น และสิ่งที่ชุมชน
               ยังระลึกได้ในขณะนั้นเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์งานถนนคนเดินเมื่อปี พ.ศ. 2551 ส�าหรับความคิดเห็นกับพื้นที่อาศัยส่วนใหญ่
               เป็นเหตุผลเชิงบวกที่ส�าคัญต่อการด�ารงชีวิตที่มีความสุขและอยู่รอด  เช่น  เศรษฐกิจดี  ใกล้ตลาด  สบายใจ  มีญาติ  มีเพื่อน
               อยู่กับลูกดูแลหลาน อยู่มานาน ความผูกพัน ได้รับมรดก บ้านของเราเองสร้างเอง รู้จักถนนหนทางดี มีนักท่องเที่ยว ไม่เบื่อ
               เป็นต้น”

                          นอกจากน้ ยังพบภาพถ่ายเก่าอันเป็นหลักฐานอีกช้นหน่ง และในระหว่างเก็บข้อมูล ท�าให้ผู้วิจัยและชุมชนรู้จักกัน
                                 ี
                                                               ั
                                                                   ึ
               มากข้น ชุมชนส่วนใหญ่เร่มคลายข้อสงสัยในตัวผู้วิจัย ให้ความไว้วางใจ และยินดีให้ข้อมูลเพ่มเติมเวลาลงพ้นท่ แสดงให้เห็นว่า
                                                                                              ื
                                  ิ
                                                                                                 ี
                                                                                   ิ
                   ึ
               ชุมชนมีความเป็นมิตร พูดคุยเก่ง เป็นนักเล่าเรื่อง จากค�าพูดที่ว่า “ยินดีให้สัมภาษณ์ มาได้ตลอดนะ”
                      4.4  กิจกรรม
                                                                                                     ี
                                                                                ึ
                                                                                   ั
                                       ี
                                                                        ี
                          จากความคิดเห็นท่เคยสอบถามชุมชนถึงลักษณะของกิจกรรมท่ควรจะจัดข้นน้นว่า ขอให้เป็นกิจกรรมท่สร้างสรรค์
                                                          ิ
               อย่างมีส่วนร่วมของชุมชนและถ้ามีเยาวชนเข้าร่วมด้วยย่งดีผู้วิจัยจึงทดลองเสนอกิจกรรม  ได้แก่  1)  รวมพลคนอยากวาด
                                                                                        ี
               ภูมิทัศนาจร  2)  นิทรรศการส่งดีปากแพรก  3)  การเรียนรู้กระบวนการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์
                                      ิ
               และ 4) 8 มีนาคม  วันแผ่นดินสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2556 ซึ่งกิจกรรมในวันที่ 8 มีนาคม สามารถด�าเนินงาน
                             6
                                                     �
                                                                                                           ึ
                                                                                                         ิ
               ร่วมกันระหว่างตัวแทนฝ่ายเทศบาลและชุมชนข้นซ้าได้อีกในปี พ.ศ. 2557 และมีแนวโน้มการตอบรับเข้าร่วมกิจกรรมเพ่มข้น
                                                   ึ
                                      ิ
               ซ่งอาจพัฒนาไปเป็นกิจกรรมเร่มต้นของปฏิทินหรือเทศกาลประจ�าปีของปากแพรกได้แม้ว่าภายหลังทางโครงการแหล่งเรียนรู้ฯ
                ึ
               จะยุติกระบวนการวิจัยในพื้นที่แล้ว แต่คณะท�างานเทศบาลและชุมชนก็ได้จัดงานร่วมกันอีกครั้งในปี พ.ศ. 2558
                      4.5  ผู้คน
                          การก�าหนดความต้องการของชุมชนให้ถนนปากแพรกเป็นอย่างไรน้น ต้องมีการก�าหนดนโยบายหรือสร้างวิสัยทัศน์
                                                                          ั
               ร่วมกันขึ้นมา  ซึ่งทางโครงการแหล่งเรียนรู้ฯ  ได้ประสานและด�าเนินกิจกรรมร่วมกับชุมชนและเทศบาลฯ  ได้แก่  1)  ประชุม
               วิสัยทัศน์ถนนปากแพรก เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 พร้อมกับการแจกแบบสอบถามเรื่อง “ถนนปากแพรก ที่ท่าน
               อยากเห็น”  เพ่มเติมในวันท่  8  มีนาคม  พ.ศ.  2556  2)  กิจกรรมประกวดค�าขวัญและภาพถ่ายประทับใจ  พร้อมการแจก
                          ิ
                                    ี
               แบบสอบถามเร่อง  “แนวคิดในการพัฒนาปากแพรก”  เพ่มเติมในวันสร้างเมืองฯ  ในวันท่  8  มีนาคม  พ.ศ.  2557  และ
                                                                                    ี
                           ื
                                                           ิ
                              ื
                                                              ึ
               3)  แบบสอบถามเพ่อสรุปแนวทางในการพัฒนาปากแพรก  ซ่งการจัดประชุมวิสัยทัศน์ถนนปากแพรก  ณ  ห้องประชุมใหญ่
                                                                          ื
                                                                             ี
               ของส�านักงานเทศบาลเมืองกาญจนบุรี มีผู้เข้าร่วมจ�านวน 103 คน เป็นคนในพ้นท่ถึง 88 คน โดยมีคณะท�างานจากสถาบันฯ
               ท�าหน้าที่จัดกระบวนการ  โดยผลสะท้อนที่ได้จากค�าถามที่ว่า  “อยากเห็นปากแพรกเป็นอย่างไร  และจะท�าอย่างไรให้เกิดขึ้น
               จริงได้”  น้น  สามารถสรุปได้  2  หัวข้อ  คือ  1)  ด้านกายภาพ  ชุมชนอยากให้ถนนปากแพรกเป็นแหล่งเรียนรู้ในลักษณะ
                       ั
               ถนนสายอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรมที่บอกเล่าเรื่องราวของเมืองกาญจน์ 2) ด้านการบริหารจัดการ ต้องมีจุด
                                                      ื
                         ื
               อ�านวยการเพ่อประชาสัมพันธ์และเป็นศูนย์กลางรับเร่องความต้องการของแต่ละบ้านได้ มีวิทยากรคอยแนะน�าส�าหรับคณะศึกษา
                            ี
               ดูงานหรือท่องเท่ยว โดยมีการฝึกนักเรียนนักศึกษาที่สนใจให้เป็นประชาสัมพันธ์ทุกวัน โดยขอความร่วมมือกับทางเทศบาลฯ
               สร้างช่องทางการส่อสารให้ท่วถึงเพื่อจะได้สร้างความร่วมมือในชุมชนกลับมา เช่น จดหมาย ท�าข้อเสนอ/แบบสอบถามชุมชน
                                    ั
                             ื
                                                                                          ื
               เป็นต้น นอกจากนี้ ยังเป็นแหล่งรวมข้อมูลประวัติศาสตร์ของปากแพรก ท่เผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ เพ่อให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย
                                                                    ี
               เช่น  อินเตอร์เน็ตกับกลุ่มวัยรุ่น  คนรุ่นใหม่  เป็นต้น  ซ่งควรมีการแลกเปล่ยนฐานข้อมูลระหว่างแต่ละเขตในกาญจนบุรีด้วย
                                                                        ี
                                                         ึ
               และจัดให้มีการศึกษาดูงานท่องเที่ยว เพื่อเป็นบทเรียนน�ามาแก้ปัญหาในพื้นที่ตามความเป็นจริง
               6   หรือวันที่ระลึกถึงการสร้าง (ก�าแพง) เมืองกาญจนบุรี พ.ศ. 2374 ในสมัยรัชกาลที่ 3 ทางจังหวัดร่วมกับเทศบาลเมืองฯ รับผิดชอบในการจัด
                 พิธีการ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดฯ น�าถวายสักการะพระบรมรูปฯ ณ บริเวณประตูเมือง ถนนหลักเมือง ต�าบลบ้านเหนือ อ�าเภอเมืองกาญจนบุรี
               Vol.  8                                      64
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74