Page 70 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 70
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
5. การอภิปรายผล สรุป และข้อเสนอแนะ
ั
ี
ั
จากการรวบรวมและศึกษา การจัดต้งพิพิธภัณฑ์ท่มีชีวิต รวมท้งการตรวจสอบแต่ละองค์ประกอบของพิพิธภัณฑ์
ที่มีชีวิตในพื้นที่ถนนปากแพรก ซึ่งสามารถสรุปโดยเรียงล�าดับตามตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นข้างต้นได้ดังนี้
5.1 งบประมาณ
ึ
�
ี
ระบุแหล่งทุนและมีเงินทุนของโครงการ ซ่งในกรณีของชุมชนท่สามารถดาเนินการได้ด้วยตนเองท้งหมด เงินทุน
ั
จ�านวนนี้ (ทั้งค่าแรงคนและค่าของ) ก็อาจตัดออกไปได้ ดังนั้น องค์ประกอบนี้จึงมีความส�าคัญอันดับแรก และจากการด�าเนิน
้
ั
ิ
่
้
่
ั
้
ั
ิ
์
่
กจกรรมของโครงการฯ ตงแต พ.ศ. 2553-2557 ใชงบประมาณของสถาบันอาศรมศลปและเงินทุนสวนตวในชวงแรกรวมทงหมด
เป็นจ�านวนค่าใช้จ่ายโดยประมาณ 390,500 บาท
ื
ื
ี
�
ค่าใช้จ่ายของโครงการจานวนน้เป็นเพียงแนวทางการประเมินเบ้องต้น เน่องจากเป็นโครงการทางการศึกษา
ี
ึ
ี
ื
�
ี
ก่งโครงการจริงในพ้นท่จึงมีส่วนท่ได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือมาโดยตลอด นอกจากน้ ยังต้องคานึงถึงการสร้างรายได้ต่อยอด
ี
�
ี
เพ่อหล่อเล้ยงโครงการให้ดาเนินไปได้อย่างต่อเน่อง และแม้ในพ้นท่จะมีแหล่งทุนจากหลายภาคส่วนสนับสนุนให้ชุมชนริเร่มทา
ิ
ื
�
ื
ื
โครงการพัฒนาท้องถิ่น แต่เมื่อขาดผู้น�าและความโปร่งใส จึงต้องแก้ไขด้วยการด�าเนินงานอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน ภาครัฐ
เอกชน และสถาบันการศึกษา
5.2 สถานที่
ื
ี
ระบุตาแหน่งของพ้นท่ซ่งปรากฏหลักฐาน อันได้แก่ สถาปัตยกรรม โบราณสถาน ผังเมือง ภูมิทัศน์ และวิถีชีวิต
ึ
�
ท่มีอายุไม่น้อยกว่า 50 ปี หรือมีคุณค่าตามพระราชบัญญัติโบราณสถานฯ ซ่งบริเวณ ปากแพรก จุดเร่มต้นของเมืองกาญจนบุร ี
ี
ิ
ึ
�
ี
ี
ใหม่ท่มีอายุกว่า 180 ปี พ.ศ. 2374) โดยโบราณสถานภายในเมืองน้ {ได้แก่ 1) ประตูเมืองและกาแพงเมือง 2) วัดไชยชุมพล
ชนะสงคราม} ได้ประกาศข้นทะเบียนแล้ว เม่อ พ.ศ. 2478 โดยกรมศิลปากร ส่วนโบราณสถานท่สารวจแล้วรอการข้นทะเบียน
�
ื
ี
ึ
ึ
ได้แก่ 1) วัดเทวสังฆาราม 2) วัดถาวรวราราม และกลุ่มอาคารท่เสนอว่าควรอนุรักษ์ไว้ คือ 1) กลุ่มบ้านเก่าบริเวณบ้านเสตะพันธ ุ
ี
และ 2) กลุ่มบ้านและเรือนแถวเก่า บริเวณตลาดเก่า ริมถนนปากแพรก ซึ่งทั้งหมดยังคงปรากฏหลักฐานอยู่จนถึงปัจจุบัน
ั
แต่ด้วยข้อจากัดของระยะเวลาในการวิจัยคร้งน้และแหล่งข้อมูล จึงต้องฝากให้ผู้สนใจในพ้นท่แห่งน้ทาการสืบค้น
�
ี
ื
�
ี
ี
ข้อมูลประกอบต่างๆ เพื่อระบุขอบเขตในแต่ละยุคของปากแพรกให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่มีความชัดเจนมากขึ้นกว่านี้
5.3 ประวัติศาสตร์
องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์อย่างมีหลักฐาน ได้แก่ บันทึกลายลักษณ์อักษร หรือค�าบอกเล่า วัตถุที่ขุดค้นพบ
เป็นต้น ดังเรื่องราวของปากแพรกที่ปรากฏใน เช่น พระราชนิพนธ์ เสด็จประพาสไทรโยค พ.ศ. 2420 ในรัชกาลที่ 5 และ
หนังสือ ROYAL SIAMESE MAPS (2004) เป็นต้น อีกทั้งเอกสารของกรมศิลปากรส�านักที่ 2 เช่น ร่างแผนอนุรักษ์และ
ี
ั
ุ
พฒนาเมองกาญจนบรเก่าและกาญจนบรใหม่ฯ รวมทงรายงานของศนย์วฒนธรรมจงหวดกาญจนบร เรอง การอนรกษ์
่
ู
ั
ั
ื
ั
ุ
ั
ุ
ุ
้
ั
ี
ี
ื
สถาปัตยกรรมในเมืองกาญจนบุรี (2530) ที่แสดงถึงความส�าคัญทางประวัติศาสตร์ในระดับพื้นที่ไปจนถึงระดับโลก และเมื่อ
ิ
ื
�
�
�
ลงสารวจจากคาบอกเล่าของคนในชุมชน โดยใช้แบบสอบถาม ทาให้ทราบว่า ผู้คนยังคงสามารถสะท้อนเร่องราวในท้องถ่นได้
นอกจากนี้ ยังพบภาพถ่ายเก่าอันเป็นหลักฐานอีกชั้นหนึ่ง
ั
ึ
�
ิ
แต่ด้วยเหตุผลเดียวกันกับข้อ 5.2 การทาให้ประวัติศาสตร์ของปากแพรกมีความสมบูรณ์มากย่งข้นน้น ต้องอาศัย
ทั้งประวัติศาสตร์กระแสหลักและท้องถิ่นควบคู่กัน และรวบรวมอย่างเป็นระบบ ซึ่งประวัติศาสตร์ท้องถิ่นยังเป็นเรื่องที่ควรมี
ผู้ช�านาญการให้ค�าแนะน�า และเป็นเรื่องเร่งด่วนในการจัดท�าข้อมูลของพื้นที่ เนื่องจากผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ
5.4 กิจกรรม
�
�
ื
ี
ทางด้านวัฒนธรรมประเพณี เทศกาลวันสาคัญ หรือกิจกรรมท่ส่งเสริมคุณค่าความสาคัญของพ้นท่และความ
ี
ั
ู
่
่
้
ี
้
ุ
์
ื
้
�
ี
่
ื
ิ
ิ
�
สมพนธของผคนในชมชนและผทเกยวของ ใหเกดการดาเนนงานซาหรอมความตอเนองเปนปฏทนกจกรรมของพนทโดยไมม ี
้
ื
ั
่
ี
ิ
ิ
ู
่
่
ิ
็
้
ี
้
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
65 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.