Page 94 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 94
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
ตารางที่ 3 ความต้องการภายในตลาดจากการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุ (n = 55)
ความต้องการ พื้นที่นั่งพักผ่อน ห้องน�้าส�าหรับผู้สูงอายุ วัสดุปูพื้นกันลื่น โซนสินค้าผู้สูงอายุ
รูปภาพ
ร้อยละความถี่ 25 % 17 % 15 % 13 %
รูปภาพ
ร้อยละความถี่ 11 % 8 % 8 % 3 %
ที่มา: ผู้วิจัย (2559)
7. อภิปรายผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
จากการวิเคราะห์ข้อมูลและผลการวิจัย ในด้านปัญหา พฤติกรรมและความต้องการสภาพแวดล้อมภายในตลาดสด
เพื่อผู้สูงอายุ มาเปรียบเทียบกับข้อก�าหนดและมาตรฐานในการออกแบบ สามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้
7.1 ปัญหาด้านสภาพแวดล้อมและสิ่งอ�านวยความสะดวกภายในตลาดสดย่านบางเขน จากการศึกษาของ
�
ิ
ผู้วิจัยสอดคล้องกับความคิดเห็นของผู้สูงอายุ พบว่าส่งอานวยความสะดวกต่างๆ ของผู้สูงอายุยังขาดความพร้อมในหลายๆ ด้าน
ตลาดสดควรมีการเพิ่มและปรับปรุงสิ่งอ�านวยความสะดวกของผู้สูงอายุให้มีความเหมาะสมตามกฎกระทรวง
ื
ื
7.1.1 ปัญหาของพ้นบริเวณทางเดิน ระหว่างทางเดินท่ใช้วัสดุปูพ้นผิวล่น ระดับพ้นไม่เรียบสมาเสมอ มีร่องนา
ื
ี
้
�
ื
�
่
และช่องระบายน�้าเปิดทิ้งไว้ สิ่งของกีดขวางทางเดิน
้
�
ี
้
ี
�
�
�
7.1.2 ปัญหาห้องนาสาธารณะ ท่ไม่มีห้องนาสาธารณะสาหรับผู้สูงอายุเลยและห้องนาท่ไม่สะอาดไม่ถูกสุขลักษณะ
้
7.1.3 ปัญหาที่จอดรถ ที่ไม่มีการจัดพื้นที่จอดรถส�าหรับผู้สูงอายุเลย
ี
ี
7.1.4 ปัญหาทางลาด ท่มีความลาดชันท่ไม่เหมาะสมและไม่มีราวจับ ท่ลาดท่สร้างข้นเพ่อใช้ในการขนย้ายสินค้า
ึ
ื
ี
ี
ไม่ได้จัดสร้างไว้เพื่ออ�านวยความสะดวกให้ผู้สูงอายุโดยเฉพาะ
ิ
ิ
ั
ู
ี
�
่
่
้
7.1.5 บนไดทีไม่ไดตามมาตรฐาน ระยะของลูกต้งและลกนอนไม่สมาเสมอ และมการวางส่งของกีดขวางบรเวณ
ั
บันได
�
ิ
ี
7.1.6 ปัญหาขาดป้ายแสดงส่งอานวยความสะดวกท่ชัดเจน ไม่มีการแสดงสัญลักษณ์ส่งอานวยความสะดวก
ิ
�
และเครื่องหมายแสดงทางไปสู่สิ่งอ�านวยความสะดวก ป้ายที่มีภายในตลาดไม่ได้ตามมาตรฐานที่ก�าหนดไว้
จากปัญหาท่พบในข้างต้น มความสอดคล้องกบการสารวจทางลาดและห้องส้วมสาหรบผ้พการและผ้สงอาย ุ
ู
ิ
ั
ู
�
ี
�
ั
ี
ู
ในเขตถนนคนเดิน จังหวัดเชียงใหม่ ได้กล่าวไว้ว่า ทางลาดและห้องส้วมตามสถานที่ต่างๆ ไม่เหมาะสมส�าหรับผู้พิการที่ใช้
วีลแชร์ เจ้าของหรือผู้ดูแลสถานท่ยังไม่รู้กฎหมายและยังไม่เห็นความสาคัญกับการจัดส่งอานวยความสะดวกดังกล่าว (จีระนันท์
�
ิ
�
ี
ระพิพงษ์. 2558) จะเห็นได้ว่าปัญหาด้านสิ่งอ�านวยความสะดวกต่างๆ นั้น เกิดจากการขาดความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง
ื
ิ
�
�
ื
ี
ี
เก่ยวกับการจัดสร้างส่งอานวยความสะดวกของผู้สูงอายุในพ้นท่สาธารณะ ส่งผลให้ยังขาดส่งอานวยความสะดวกเพ่อผู้สูงอาย ุ
ิ
และสิ่งอ�านวยความสะดวกที่มีอยู่ไม่ได้ตามมาตรฐานที่ก�าหนด
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
89 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.