Page 95 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 95
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
7.2 ด้านพฤติกรรมและความต้องการต่อสภาพแวดล้อมภายในตลาดสดของผู้สูงอาย จากการศึกษาของผู้วิจัย
ุ
สอดคล้องกับความคิดเห็นของผู้สูงอายุ นอกจากความต้องการในการปรับปรุงส่งอ�านวยความสะดวกของผู้สูงอายุตามมาตรฐาน
ิ
แล้ว ผู้สูงอายุยังมีความต้องการสิ่งอ�านวยความสะดวกในด้านอื่นๆ อีกด้วย
ื
ื
ี
ื
ั
7.2.1 ตลาดสดควรมีการจัดพ้นท่ส�าหรับน่งพักผ่อนหลายๆ จุดระหว่างการซ้อของภายในตลาด เพ่อให้ผู้สูงอาย ุ
สามารถแวะนั่งพักและจัดสิ่งของที่ซื้อระหว่างทาง
ี
ื
7.2.2 ตลาดควรจัดแบ่งโซนสินค้าเพ่อผู้สูงอายุ ท่ประกอบไปด้วยสินค้าเพ่อสุขภาพ สินค้าท่จ�าเป็นส�าหรับผู้สูงอาย ุ
ื
ี
เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าไปเลือกซื้อได้สะดวกยิ่งขึ้น
7.2.3 บรรยากาศภายในตลาดสดควรมีการน�าวัสดุธรรมชาติต้นไม้ต่างๆ เข้ามาออกแบบภายในตลาดสด
7.2.4 ควรจัดให้มีจุดบริการรถเข็นไว้ส�าหรับเข็นใส่สินค้าภายในตลาด
จากการศึกษาด้านความต้องการต่อสภาพแวดล้อมภายในตลาดสดของผู้สูงอายุมีความสอดคล้องกับงานวิจัย
ี
ิ
ี
ี
ื
ิ
ื
การศึกษาชุมชนในพ้นท่ตลาดน้าตล่งชัน ความต้องการส่งอ�านวยความสะดวกเพ่อรอบรับนักท่องเท่ยวผู้สูงอายุ คือ ท่เส้นทาง
�
ั
ี
สัญจร ม้าน่งพักผ่อน ท่จอดรถและต้นไม้ (สุรชาติ สินวรรณ์. 2558) ดังน้นนอกจากการปรับปรุงส่งอ�านวยความสะดวกภายใน
ั
ิ
ตลาดให้ได้มาตรฐานตามกฎกระทรวงแล้ว ควรมีการจัดสิ่งอ�านวยความสะดวกในด้านอื่นๆ เพิ่มเติมให้กับผู้สูงอายุอีกด้วย
8. ข้อเสนอแนะในการน�าผลการวิจัยไปใช้
ี
ี
ี
ในการวิจัยน้เป็นการวิจัยน�าร่องท่ผู้วิจัยท�าการศึกษาเฉพาะในตลาดประเภทท่ 1 ในตลาดกรณีศึกษา และเฉพาะ
ี
ิ
ื
ื
ั
ผู้สูงอายุเท่าน้น ในอนาคตควรศึกษาในเร่องเก่ยวกับตลาดในประเภทอ่นๆ และศึกษาเพ่มเติมในส่วนของผู้พิการประเภทต่างๆ
ี
ื
ื
ท่เข้ามาใช้บริการภายในตลาดสด เช่น ผู้พิการทางสายตา ผู้พิการใช้รถวีลแชร์ เพ่อให้เกิดความเท่าเทียมในการใช้พ้นท ่ ี
ภายในตลาดสดมากยิ่งขึ้น
เอกสารอ้างอิง
ี
กระทรวงสาธารณสุข. กรมการแพทย์. สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. รวมบทคัดย่องานวิจัยและวิทยานิพนธ์เก่ยวกับสุขภาพ
ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2530-2540. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2541.
กฎกระทรวง. ก�าหนดส่งอ�านวยความสะดวกในอาคาร ส�าหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548.
ิ
ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 122 ตอนที่ 52 ก ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2548.
เกียรติ จิวะกุลและคณะ. (2525). ตลาดในกรุงเทพมหานคร: การขยายตัวและพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
จีระนันท ระพิพงษและคณะ. (2558). การส�ารวจทางลาดและห้องส้วมส�าหรับผู้พิการและผู้สูงอายุในเขตถนนคนเดิน
จังหวัดเชียงใหม่. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วีรศักดิ์ เมืองไพศาล. (2557). การจัดการภาวะฉุกเฉินส�าหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ สมาคมพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์
ผู้สูงอายุไทย.
สุรชาติ สินวรรณ์และคณะ. (2558). แนวทางการออกแบบส่งอ�านวยความสะดวกและสภาพแวดล้อมทางกายภาพเพื่อ
ิ
ั
้
ู
สงเสรมการท่องเทยวส�าหรบผสูงอายและพิการ ตลาดนาตลงชน. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
่
ิ
่
ี
ุ
ิ
�
้
่
ั
สวนดุสิต.
ส�านักงานกองทุนพัฒนาเมืองในภูมิภาค ธนาคารออมสิน และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2551). คู่มือการออกแบบ
ตลาดสด ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ พราวเพรส จ�ากัด.
ส�านักงานสถิติแห่งชาติ (2557). ประชากรผู้สูงอายุอาเซียน เอกสารประมวลสถิติด้านสังคม เข้าถึงได้จาก: http://www.
dop.go.th/upload/knowledge/knowledge_th_20161309100713_1.pdf.
Vol. 8 90