Page 96 - The 8th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 96
th
Research Proceedings in The 8 Graduate Integrity Conference: April, 2017
แนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่าย
ภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี
The Recommendations for Physical Environment Improvement in the Objects and
Photographs Section Inside the World War II Museum in Kanchanaburi
ธนวรรณ พยัคฆ์ทัศน์ เบญจมาศ กุฏอินทร์ 2
1
บทคัดย่อ
ี
พิพิธภัณฑ์สงครามโลกคร้งท่ 2 เป็นพิพิธภัณฑ์เก่ามีอายุมากกว่า 20 ปี สภาพแวดล้อมทางกายภาพไม่มีการปรับปรุง
ั
ึ
ให้สอดคล้องกับแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภ าพภายในพิพิธภัณฑ์ ซ่งอาจเป็นสาเหตุของความอ่อนล้าในการเข้าชม
พิพิธภัณฑ์ (Museum Fatigue) การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาลักษณะสภาพแวดล้อมทางกายภาพในปัจจุบันและ
ปัญหาของส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรม
การเดินชมและปัญหาของผู้เข้าชม ส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี
ั
้
่
ั
ิ
็
้
ู
้
ั
่
ั
ั
้
ุ
ี
่
้
ี
ี
่
ื
่
ึ
3) เพอศกษาความคดเหนของผเขาชมและเจาหนาททมตอลกษณะสภาพแวดลอมทางกายภาพในปจจบนของสวนจดแสดงวตถ ุ
ื
ั
และภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกคร้งท่ 2 จังหวัดกาญจนบุรีและ 4) เพ่อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อม
ี
ทางกายภาพของส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี
ั
ู
ิ
การวิจยน้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพผสมผสานกับการวจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมลโดยสงเกตสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ั
ี
เบื้องต้น แจกแบบสอบถามผู้เข้าชมจ�านวน 40 คน สังเกตพฤติกรรมการเดินชมของผู้เข้าชม สังเกตลักษณะทางกายภาพ
สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ 1 คน ผู้ก่อตั้งพิพิธภัณฑ์ 1 คนและผู้เข้าชม 4 คนในส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายภายในพิพิธภัณฑ์
สงครามโลกครั้งที่ 2 จังหวัดกาญจนบุรี ข้อมูลเชิงคุณภาพถูกน�ามาวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ข้อมูลเชิงปริมาณ
ถูกน�ามาวิเคราะห์ค่าความถี่และร้อยละ
ผลการวิจัยสรปได้ว่า สภาพแวดล้อมโดยรอบไม่สอดคล้องกับเรองราวทจัดแสดง มีเสยงรถไฟจากบรเวณสะพาน
่
ื
ี
่
ี
ิ
ุ
ข้ามแม่น�้าแคว ส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายไม่มีการใช้เสียงดนตรีและเสียงบรรยายเฉพาะจุด ลักษณะพื้น ผนัง เพดาน
และเครื่องเรือนใช้โทนสีขาว เทา ด�า จัดวางตู้แสดงวัตถุและภาพถ่ายตามแนวยาวของห้อง ผนังทุกด้านติดตั้งภาพถ่ายทาง
ึ
ี
ั
่
ี
ั
ั
ประวติศาสตร์สงครามโลกคร้งท 2 ในระดบความสูง 0.80 - 2.50 เมตร รวมถงเพดานบางส่วน โดยไม่มการเว้นระยะ ลักษณะ
แสงสว่างภายในพื้นที่และแสงสว่างเฉพาะจุดไม่เพียงพอ มีการถ่ายเทอากาศได้ค่อนข้างดี การจัดวางวัตถุส่วนใหญ่เป็นแบบ
ั
�
ต้งวางเรียงกันภายในตู้จัดแสดงท่มีวัตถุหลายชนิดรวมกัน แต่การแบ่งหมวดหมู่ของวัตถุยังไม่ชัดเจน มีการจาลองบรรยากาศ
ี
1 จุด ป้ายบรรยายวัตถุเป็นป้ายชนิดเคลื่อนย้ายได้ การบรรยายภาพถ่ายใช้การเขียนไว้ใต้ภาพถ่าย การบอกทิศทางเป็นการ
เขียนด้วยสีแดงทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษไว้บนผนังหรือเสาสีขาว บางจุดเขียนไว้ที่ระดับสูงเกินกว่า 2 เมตร
จากการสังเกตพฤติกรรมการเดินชมของผู้เข้าชมในส่วนจัดแสดงวัตถุและภาพถ่ายพบว่า ผู้เข้าชมส่วนใหญ่ใช้เวลา
ในการชมประมาณ 8-15 นาที เดินผ่านอย่างไวๆ ในช่วงท้ายก่อนออกจากส่วนการจัดแสดงนี้ ปัญหาที่พบ คือ ผู้เข้าชม
ื
ี
แหงนดูภาพถ่ายท่ติดไว้ในระดับ 2 เมตร ผู้เข้าชมบางคนก้มตัวเพ่ออ่านคาบรรยายวัตถุ หรือเข้าใกล้ภาพถ่ายในระยะน้อยกว่า
�
30 เซนติเมตร ผู้เข้าชมส่วนใหญ่ไม่ขึ้นไปในส่วนการจัดแสดงชั้น 2 ส�าหรับผู้ที่ขึ้นไปชมเดินผ่านอย่างไวๆ ไม่มีการหยุดชม
ี
ึ
ั
ี
ในจุดใดจุดหน่งด้วยระยะเวลานาน ผลจากการสมภาษณ์และสอบถามผู้เข้าชมและเจ้าหน้าท่มีความคิดเห็น ดังน้ 1) แสงสว่าง
1 หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง
2 ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
91 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.