Page 100 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 100

ึ
                                   ี
                                                             �
                                                 ี
              (Information Overload) ท่เกิดข้นจากการเปล่ยนแปลง โดยกาพล นิรวรรณ. ผู้แปล Future Shock หรือ อนาคตระทึกขวัญ
              ฉบับภาษาไทย กล่าวไว้ว่า
                      “…  เมื่อปัจเจกบุคคลตกอยู่ในภาวะที่สถานการณ์เปลี่ยนอย่างรวดเร็วและผิดปรกติ หรืออยู่ในบริบทหรือ
                      ข้อมูลข่าวสารท่ไม่เคยพบประสบมาก่อน บุคคลน้นจะมีความแม่นยาในการคาดการณ์และการเข้าใจข้อมูล
                                 ี
                                                                        �
                                                           ั
                      ลดลง เขาจะไม่สามารถประเมินข้อมูลได้อย่างถูกต้องว่าข้อมูลที่มากมายมหาศาลประเด็นไหนคือประเด็น
                      ที่เชื่อถือได้ (อัลวิน ทอฟฟเลอร์, 2534)...”
                                                             ี
                                                                           �
                               จากอัลวิน ทอฟฟ์เลอร์ (Alvin Toffler) ท่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ได้ทราบสาเหตุการเกิดของสภาวะข้อมูล
              ท่วมท้น (Information Overload) คือ 1) ข้อมูลมากมายมหาศาล (Enormous Information) จนไม่สามารถระบุประเด็นได้
                                                      ี
                                  ี
                                ั
                                                                                                         ื
                                                                                              ั
                                                          �
                               ท้งน้จากข้อมูล (รายงานวิจัย) ท่ต้องทาการประชาสัมพันธ์ด้านข้อมูลอนุรักษ์พลังงานน้น ได้มีข้อมูลเน้อหา
              ทางด้านตัวเลขเป็นจ�านวนมาก โดย IBM Informix Database Design ได้พูดถึงข้อมูลซับซ้อน (Complex Data) ที่กล่าว
              เกี่ยวกับตัวเลขซับซ้อน (Complex Numbers) ไว้ว่า
                      “…  The deposition mixed together in a number of figures and cumbersome, confusing and
                      difficult to liquidate (Complex data, 2560)....”
                               ซึ่งน�าไปสู่ ตัวแปรที่สอง คือ 2) ข้อมูลตัวเลขซับซ้อน (Complex Numbers)

                               จากทฤษฎีข้างต้นผู้วิจัยสามารถสรุปได้ว่า ปัจจัยที่จะส่งผลต่อการท�าประชาสัมพันธ์ของส�านักถ่ายทอด
              และเผยแพร่เทคโนโลยี ดังต่อไปนี้






















                                   รูปที่ 5 กรอบแนวคิดที่ 1: ปัจจัยการจัดการข้อมูล (รายงานการวิจัย)

                                                      ที่มา: ผู้วิจัย (2560)


                                                                                  �
                                  ั
                               ดังน้น ปัจจัยการจัดการข้อมูลข้างต้นจะเป็นตัวช่วยจัดการข้อมูลให้กับสานักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลย  ี
                       ี
                             �
                                                                          �
              ท่มีหน้าท่ท่จะต้องนาข้อมูล (รายงานการวิจัย) จากหน่วยงานภายในองค์กรมาทาการประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้ความรู้ด้าน
                      ี
                ี
                                                                           ้
                                                                           ู
                                                                            ิ
                                                                                                 ์
                                                                                                      ้
                                                                                                        ั
                                                                             ั
                                                                                 ้
                                                                                         ึ
                                     ั
                                          ่
                                                         ่
                       ้
                        ั
                                   �
              พลงงานใหกบประชาชน (สานกงานถายทอดและเผยแพรเทคโนโลย, 2560) โดยผวจยจะใชโครงการศกษาเกณฑการใชพลงงาน
                 ั
                                                                ี
                                                                                           ื
                                                                                               �
                                                                                    ี
              ในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงานเป็นกรณีศึกษาในการทดสอบปัจจัยท่ได้มา เพ่อให้สานักถ่ายทอดและ
                                                                                                 �
                                                                          ึ
              เผยแพร่เทคโนโลยีสามารถจัดการข้อมูลการประชาสัมพันธ์เบ้องต้นได้ด้วยตนเอง ซ่งโครงการฯ มีจุดประสงค์การทาประชาสัมพันธ์
                                                           ื
              เพื่อให้ประชาชนยอมรับ ในเรื่องเกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานส�าหรับบ้านพักอาศัยของประเทศไทย
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            93    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105