Page 102 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 102
โดยการวิจัยนี้ จะกล่าวถึงในส่วนประกอบตอนกลางหรือส่วนเนื้อหา (Text) เท่านั้น ซึ่งเป็นส่วนที่เสนอ
ื
�
ั
�
ื
ื
เร่องราวสาระท้งหมดของรายงานการค้นคว้า การนาเสนอเน้อหาจะทาการแบ่งเป็นบทหรือเป็นตอนเพ่อให้ผู้อ่านได้เห็นประเด็น
�
ื
�
ั
ั
ึ
ื
ึ
สาคัญของเน้อหาตามลาดับและต่อเน่องกัน โดยในหน่งบท จะมีเพียงหน่งประเด็นหลักเท่าน้น ท้งนี้จาก ศาสตราจารย์
ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส (Senior Fellow) มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้กล่าวถึงหลักการเขียนบทความ
ึ
ื
ไว้ว่า “ผู้เขียนต้องอธิบายให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายอย่างต่อเน่องและเพียงประเด็นเดียว โดยหลักการเขียนบทความหน่งๆ ไม่ควร
ื
ั
ิ
ื
ิ
มีความยาวเกินกว่า 10 หน้า (เกรียงศักด์ เจริญวงศ์ศักด์, 2543)” ดังน้นผู้วิจัยทาการสร้างเคร่องมือเพ่อตรวจสอบข้อมูล
�
ื
่
ั
�
่
ิ
้
่
่
รปเลมรายงานการวจยของโครงการฯ โดยจะทาการตรวจสอบเฉพาะแคในสวนประกอบตอนกลางหรอส่วนเนอหา (Text) เทาน้น
ู
ื
ั
ตามการเขียนรายงานว่ามีจ�านวนหน้าที่เหมาะสมตามหลักการเขียนบทความหรือไม่
ตารางที่ 2 ตารางเครื่องมือตรวจสอบจ�านวนหน้าตามหลักการเขียนบทความ
องค์ประกอบของรายงาน ส่วนประกอบย่อย จ�านวนหน้า≤10 จ�านวนหน้า>10
*ส่วนประกอบตอนกลางหรือส่วน 1. บทน�า (Introduction)
เนื้อหา (Text) 2. ส่วนเนื้อหา (Body of Paper)
3. บทสรุปหรือสรุป (Conclusion)
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
3.2.2 การจัดการตัวแปรที่ 2 ข้อมูลตัวเลขซับซ้อน (Complex Numbers) จากความหมายของตัวเลขซับซ้อน
คือ เป็นการปะปนทับถมรวมกันอยู่ของตัวเลข (Complex Data, 2560) ดังนั้นจึงมุ่งประเด็นสนใจเพียงข้อมูลที่เป็นตัวเลข
�
ี
เท่าน้น แต่ในตัวเลขเองกลับถกค้นพบว่า ใช่ว่าทุกตัวเลขจะต้องมีความซับซ้อนท้งหมด ในกรณีท่ตัวเลขท่ใช้สาหรบเรียงลาดับ
ี
ั
ั
ั
ู
�
หรือตัวเลขที่ไว้ใช้ระบุนามบัญญัติ เป็นต้น ผู้วิจัยจึงท�าการศึกษาข้อมูลตัวเลขจากสารานุกรมไทย ส�าหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 6
ื
�
ี
ิ
ั
ื
ั
ว่าด้วยเร่อง คณิตศาสตร์ โดยการนาเสนอข้อมูลตัวเลขน้น จัดอยู่ในเร่องของสถิติ ท่เร่มต้นต้งแต่การเก็บรวบรวมข้อมูลจานวน
�
�
ั
ู
ี
ื
ู
�
มากและจาเป็นท่จะต้องมีการนามาจดใหม่ให้ดูง่ายหรอเป็นระเบยบ ซงการจัดข้อมลใหม่ต้องใช้ตาราง กราฟ หรอรปภาพ
ื
ึ
่
ี
เป็นต้น ซึ่งจากเล่มรายงานมีทั้งหมด 214 หน้า ดังนั้นการปะปนทับทบของข้อมูลตัวเลขจึงมีมากตามไปด้วยและยังรวมไป
ถึงตัวเลขที่ไม่สามารถ บวก ลบ คูณ หารได้ จากมาตรการวัดทางสถิติที่ได้ระบุไว้ถึง 2 แบบ (ชมพูนุท เมฆเมืองทอง,
2555) คือ มาตรการวัดระดับเรียงอันดับ (Ordinal Scales) และมาตรการวัดระดับนามบัญญัติ (Nominal Scale)
ี
ดังน้นการตรวจสอบตัวแปรท่ 3 ผู้วิจัยทาการสร้างเคร่องมือโดยการทาเช็คลิสต์มาทาการตรวจสอบข้อมูลรูปเล่มรายงาน
ื
�
�
�
ั
แบบหน้าต่อหน้า ซึ่งผู้วิจัยได้ท�าการแบ่งหมวดหมู่ของข้อมูลตัวเลขออกเป็น 2 ส่วน โดยในแต่ละส่วน มีรายละเอียด ดังนี้
ตารางที่ 3 ส่วนที่ 1 คือ ตัวเลขที่ไม่ซับซ้อน (Non Complex numbers)
ส่วนที่ 1 คือ ตัวเลขที่ไม่ซับซ้อน (Non Complex Numbers)
แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อ ดังต่อไปนี้
1. ตัวเลขเรียงอันดับ (Ordinal Scales) 2. ตัวเลขนามบัญญัติ (Nominal Scale)
เป็นระดับที่ใช้ส�าหรับจัดอันดับที่หรือต�าแหน่งของสิ่งที่ เป็นระดับที่ใช้จ�าแนกความแตกต่างของสิ่งที่ต้องการวัด
ต้องการวัด ตัวเลขในมาตรการวัดระดับนี้เป็นตัวเลขที่บอก ออกเป็นกลุ่มๆ โดยใช้ตัวเลข เช่น การระบุวันเดือนปี ลักษณะ
ความหมายในลักษณะมาก-น้อย สูง-ต�่า เป็นต้น ตัวเลขอันดับ แทนบุคคล เป็นต้น ซึ่งไม่สามารถน�ามาบวก ลบ คูณ หาร
ที่แตกต่างกันไม่สามารถบ่งบอกถึงปริมาณความแตกต่างได้ หรือหาสัดส่วนได้
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
95 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.