Page 105 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 105
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
ตารางที่ 6 ตารางสรุปผลการเช็คลิสต์ตามเงื่อนไขการจัดหมวดหมู่ตัวเลข
ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 2
Non Complex Complex Numbers
Numbers
มาตรการวัด
บทที่ (ที่บวกลบคุณหาร 1. จ�านวน 2. สูตร 3. การน�าเสนอข้อมูลทางสถิติ
ไม่ได้)
เลข เลข ปริมาณ สูตร 1. 2. 3. 4 5. 6. 7. 8. 9. 10.
อันดับ นามบัญญัติ จ�านวน/ ค�านวณ แผนภูมิ แผนภูมิแท่ง ฮิสโต แผนภูมิ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่ง แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ แผนภูมิ
หน่วยวัด ตาราง เชิงเดียว แกรม เส้น เชิงซ้อน เชิงประกอบ วงกลม เรด้าร์ ภาพ แผนที่สถิติ
1 5 หน้า 1 หน้า 5 หน้า - - - - - - - - - - -
2 18 หน้า 6 หน้า 12 หน้า - - - - - - - - - - -
3 50 หน้า 29 หน้า 20 หน้า - 2 หน้า - - - - - - - - 11 หน้า
4 39 หน้า 11 หน้า 22 หน้า 1 หน้า 16 หน้า 1 หน้า - 1 หน้า - - - - - 1 หน้า
5 41 หน้า 39 หน้า 22 หน้า 4 หน้า 19 หน้า 1 หน้า - 13 หน้า 3 หน้า - - - - -
6 23 หน้า 3 หน้า 14 หน้า - 15 หน้า - - - - - - 5 หน้า - -
7 10 หน้า 1 หน้า 3 หน้า - 7 หน้า - - - - - - - - -
8 16 หน้า 11 หน้า 15 หน้า 4 หน้า 9 หน้า 1 หน้า - - - - - - - -
*9 36 หน้า 14 หน้า 12 หน้า - 4 หน้า - 3 หน้า 1 หน้า 1 หน้า 1 หน้า - - - 1 หน้า
238
รวม 115 หน้า 125 หน้า 9 หน้า 72 หน้า 3 หน้า 3 หน้า 15 หน้า 4 หน้า 1 หน้า - 5 หน้า - 1 หน้า
หน้า
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ื
�
3.4 สรุปผลการศึกษา: การหาเกณฑ์การจัดการข้อมูล (รายงานการวิจัย) เพ่อใช้ทาการประชาสัมพันธ์
ให้กับประชาชนยอมรับของส�านักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี
ื
ี
ในส่วนของจุดประสงค์ท่ 1 ได้ทาการหาปัจจัยการจัดการข้อมูลในการทาประชาสัมพันธ์เพ่อให้ประชาชนเกิด
�
�
�
ความยอมรับจากสาเหตุปัญหาการเกิดสภาวะท่ทาให้ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ในการทาประชาสัมพันธ์รณรงค์ให้ความรู้แก่
ี
�
ึ
�
ประชาชนของสานักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี ซ่งน�าไปสู่ตัวแปรปัญหาของการจัดการข้อมูล 2 ตัวแปร ได้แก่ 1) ข้อมูล
มากมายมหาศาล (Enormous Information) โดยท�าการพิจารณารูปเล่มรายงานการวิจัย เฉพาะในส่วนของเนื้อหาเท่านั้น
ึ
โดยทาการพิจารณาแยกเป็นบทๆ ซ่งในแต่ละบทไม่ควรมีความยาวเกินกว่า 10 หน้า ในการน�าเสนอข้อมูลเพียงประเด็นเดียว
�
ิ
ื
เพ่อให้สามารถอ่านเข้าใจได้ง่ายอย่างต่อเนื่อง (เกรียงศักด์ เจริญวงศ์ศักด์, 2543) และจากการน�าไปตรวจสอบรูปเล่มรายงาน
ิ
ั
ึ
การวิจัยของโครงการฯ โดยทาการพิจารณาแยกแต่ละบทท้งหมด 9 บท ซ่งผลการวิจัยพบว่ามีมากถึง 7 บทในท้งหมด 9 บท
�
ั
ึ
�
�
ึ
�
ี
ี
ท่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ข้างต้นท่กาหนดไว้ ซ่งยากต่อการทาความเข้าใจและยากต่อการจับประเด็นซ่งส่งผลต่อการนาข้อมูล
ไปท�าการประชาสัมพันธ์ และ 2) ข้อมูลตัวเลขซับซ้อน (Complex Numbers) โดยท�าการพิจารณารูปเล่มรายงานการวิจัย
แยกเป็นบทๆ และทาการตรวจสอบแบบทีละหน้า โดยจะพิจาณาเฉพาะในส่วนของข้อมูลท่เป็นตัวเลขเท่าน้น แต่จากการพิจารณา
�
ั
ี
และสร้างเครื่องมือพบว่า ใช่ว่าทุกตัวเลขของเล่มรายงานการวิจัยจะเกิดความซับซ้อน จากในทฤษฎีตัวเลขได้กล่าวถึงตัวเลข
ที่ไม่ส่งผลต่อความซับซ้อนอยู่ จากมาตรการวัดทางสถิติที่ได้ระบุไว้ 2 หัวข้อ คือ ตัวเลขเรียงอันดับ (Ordinal Scales) และ
ตัวเลขนามบัญญัติ (Nominal Scale) ซ่งตัวเลขดังกล่าวไม่มีความซับซ้อนสามารถเข้าใจความหมายได้ทันที แต่ขณะเดียวกัน
ึ
ตัวเลขที่มีซับซ้อนได้กล่าวถึงจากสารานุกรมไทย ส�าหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 6 ว่าด้วยเรื่อง คณิตศาสตร์ โดยการน�าเสนอข้อมูล
ตัวเลขในเร่องของสถิติ ซ่งเป็นตัวเลขท่ต้องมีการตีค่าหรือตีความก่อนทาความเข้าใจ ซ่งประกอบไปด้วยกลุ่มหัวข้อต่างๆ
ี
�
ื
ึ
ึ
3 หัวข้อ คือ 1) ปริมาณจ�านวน/หน่วยวัด 2) สูตรค�านวณต่างๆ และ 3) การน�าเสนอข้อมูลทางสถิติ ดังนั้นจากการน�าไป
Vol. 9 98