Page 99 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 99
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
3.1.3 ข้อมูล (รายงานการวิจัย) กับการท�าประชาสัมพันธ์ของส�านักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยี
จากโครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงานเป็น
โครงการที่ท�าการศึกษาแนวทางการส่งเสริมบ้านประหยัดพลังงาน ที่จะต้องท�าการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชนยอมรับ
�
ในเร่องของการกาหนดรูปแบบเกณฑ์ท่เหมาะสมต่อการใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยจะเป็นเกณฑ์ตัวเลือกน�าไปสู่การออกแบบ
ี
ื
ึ
บ้านประหยัดพลังงานในประเทศไทย ซ่งประเทศไทยยังไม่มีเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าว จึงต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการจาก
ต่างประเทศ ซ่งมีความแตกต่างกับสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย โดยเกณฑ์มาตรฐานการใช้พลังงานสาหรับบ้านพักอาศัยน ี ้
�
ึ
�
ื
ื
จะถูกใช้เป็นข้อมูลและเคร่องมือท่สาคัญในการส่งเสริมเร่องบ้านประหยัดพลังงาน มีการทาการสารวจ รวบรวมข้อมูล ลักษณะ
�
�
ี
�
ื
ื
ี
ื
ของบ้านพักอาศัย และลักษณะการใช้พลังงานให้ครอบคลุมพ้นท่ต่างๆ ของประเทศไทย โดยการออกสารวจพ้นท่เพ่อเก็บ
ี
ข้อมูลจริงการใช้พลังงานของประชากรกลุ่มตัวอย่าง (บ้านพักอาศัย) จ�านวนกว่า 1,800 หลัง เพื่อน�าไปใช้ในการวิเคราะห์สู่
การออกแบบต้นแบบบ้านประหยัดพลังงานสาหรับประชาชน ซ่งสามารถนาไปใช้ในการก่อสร้างได้จริงและก่อให้เกิดการประหยัด
�
�
ึ
ั
พลังงานอย่างชัดเจน โดยมุ่งหวังให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจและเกิดความเช่อม่นว่า แนวคิดเร่องบ้านประหยัดพลังงาน
ื
ื
ี
ี
เป็นส่งท่นามาใช้ได้จริง เกิดผลในการประหยัดพลังงานท่เป็นรูปธรรม) เป็นการตอบสนองต่อนโยบายแผนอนุรักษ์พลังงาน
ิ
�
20 ปี ที่มีเป้าหมายลดการใช้พลังงานในอนาคต (แผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี, 2558)
ั
โดยรูปเล่มรายงานมีข้อมูลท้งหมด 214 หน้า (โครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและ
ื
ี
สร้างต้นแบบบ้านประหยัดพลังงาน, 2560) ซ่งเป็นข้อมูลท่สานักถ่ายทอดและเผยแพร่เทคโนโลยีต้องทาการศึกษาเน้อหา
�
�
ึ
เพื่อน�าไปท�าการประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนยอมรับข้อมูล (รายงานการวิจัย) ของโครงการฯนี้
รูปที่ 4 การจัดการข้อมูล (รายงานการวิจัย) เพื่อท�าการประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนยอมรับ
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
3.1.4 ปัจจัยการจัดการข้อมูล (รายงานการวิจัย) เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนยอมรับข้อมูล ข้อมูล (Data)
คือ ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ที่มีอยู่ในรูปของตัวเลข ภาษา ภาพ สัญลักษณ์ต่างๆ
ที่มีความหมายเฉพาะตัว ซึ่งยังไม่มีการประมวล (ไพโรจน์ คชชา, 2542).
์
ี
ิ
์
ั
ั
ื
ั
ิ
์
โดยอลวน ทอฟฟเลอร (Alvin Toffler) เปนนกคด นกวจารณและนกเขยนในแนวอนาคตศาสตร จากหนงสอ
ั
ิ
ั
็
Future Shock (อนาคตระทึกขวัญ, 2513) ได้เขียนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก การเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์
ี
เป็นหน่งในหลายๆ ส่งท่เข้าสู่กระบวนการแปรสภาพท่ซ่งมีผลต่อชีวิตมนุษย์อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน ทาให้จิตใจมนุษย์
�
ึ
ิ
ี
ึ
ี
�
ั
ี
เกิดการปรับตัวไม่ทัน โดยอัลวิน ทอฟฟเลอร์ ได้บรรยายถึงกระบวนการเปล่ยนแปลงท่สาคัญในช่วงระยะเวลาน้น ได้แก่
การแตกสลายของครอบครัวหน่วยกลางการปฏิวัติทางด้านพันธุกรรมศาสตร์ การเกิดขึ้นของสังคมที่ทิ้งขว้างสิ่งของที่ใช้แล้ว
ึ
และการปฏิวัติทางด้านการศึกษาท่มีการเรียนการสอนท่ออกจากห้องเรียนมากข้น ซ่งได้กล่าวถึง สภาวะข้อมูลท่วมท้น
ี
ึ
ี
Vol. 9 92