Page 104 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 104

3.3  ผลการวิจัย
                         3.3.1  ตัวแปรที่ 1 ข้อมูลมากมายมหาศาล (Enormous Information) จากรูปเล่มรายงานการวิจัยว่าด้วยเรื่อง
              ทฤษฎีของอัลวิน ทอฟฟ์เลอร์ (Alvin Toffler) ท่กล่าวถึง Enormous Information ว่าคือข้อมูลมากมายมหาศาล จนไม่สามารถ
                                                  ี
              ระบุประเด็นได้ ดังนั้นจากการตรวจสอบตัวแปร ที่ 1 ด้วยการตรวจสอบรูปเล่มรายงานเฉพาะแค่ในส่วนประกอบตอนกลาง
                                                                                              ื
              หรือส่วนเน้อหา (Text) โดยการพิจารณาแยกเป็นบท โดยแต่ละบทไม่ควรมีความยาวเกินกว่า 10 หน้า เพ่อให้อ่านเข้าใจง่าย
                       ื
                                                                                       ี
                      ื
                                                                     ั
                                                                            ี
                                                     ึ
                                 ิ
                                             ิ
                                                                                               ั
              และต่อเน่อง (เกรียงศักด์ เจริญวงศ์ศักด์, 2543) ซ่งผลการวิจัยพบว่า ต้งแต่บทท่ 2-6 และบทท่ 8-9 รวมท้งหมดเป็น 7 บท
              ท่มีความยาวเกินกว่า  10  หน้า  หรือคิดเป็น  77.77%  ของข้อมูลเล่มรายงานท้งหมด  ท่จัดอยู่ในข้อมูลมากมายมหาศาล
                                                                                   ี
                ี
                                                                            ั
              ซึ่งยากต่อการท�าความเข้าใจและยากต่อการจับประเด็น













                                           รูปที่ 8 ผลการตรวจสอบจ�านวนหน้าในแต่ละบท
                                                      ที่มา: ผู้วิจัย (2560)


                         3.3.2  ตัวแปรที่  2  ข้อมูลตัวเลขซับซ้อน  (Complex  Numbers)  การตรวจสอบตัวแปรที่  2  ด้วยการท�าแบบ
              เช็คลิสต์มาท�าการตรวจสอบรูปเล่มรายงานข้อมูลโครงการศึกษาเกณฑ์การใช้พลังงานในบ้านพักอาศัยและสร้างต้นแบบบ้าน
              ประหยัดพลังงาน  โดยจะท�าการตรวจสอบรูปเล่มรายงานแยกตามบททั้ง  9  บท  พิจารณาแบบทีละหน้าและพิจาณาเฉพาะ
              ในส่วนของข้อมูลที่เป็นตัวเลขเท่านั้น ที่ไม่ใช่ตัวเลขเรียงอันดับ (Ordinal Scales) และตัวเลขนามบัญญัติ (Nominal Scale)
              ซึ่งตัวเลขดังกล่าวสามารถเข้าใจความหมายได้ทันที โดยที่ไม่ต้องเกิดการตีค่าหรือความหมาย ซึ่งต่างจากตัวเลขที่มีซับซ้อน

                                                                 ื
                                                                                     �
                                                                                                       ื
                ี
                                        �
              ท่ได้กล่าวถึงจากสารานุกรมไทย สาหรับเยาวชนฯ เล่มท่ 6 ว่าด้วยเร่อง คณิตศาสตร์ โดยการนาเสนอข้อมูลตัวเลขในเร่องของ
                                                        ี
              สถิติ ซึ่งเป็นตัวเลขที่ประกอบไปด้วยกลุ่มหัวข้อต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 3 หัวข้อ คือ 1) ปริมาณจ�านวน/หน่วยวัด 2) สูตร
              ค�านวณต่างๆ และ 3) การน�าเสนอข้อมูลทางสถิติ ซึ่งตัวเลขที่จัดอยู่ในความซับซ้อนนั้น ไม่สามารถเข้าใจค่าหรือความหมาย
              ได้ทันที ต้องมีการตีความหมาย ไม่ว่าจะเป็นหน่วย สูตรค�านวณ รวมไปถึงการอ่านค่าแผ่นภูมิหรือตารางต่างๆ ทางสถิติ
                               ซึ่งผลการวิจัยพบว่า บทที่ 9 มีความซับซ้อนของข้อมูลตัวเลขมากที่สุด (*7 หมวด) ซึ่งวัดเป็น 70%
              ของบท  ท่ต้องมีการตีค่าและตีความหมาย  จากหน่วยวัด  แผนภูมิตาราง  ฮีสโตแกรม  แผนภูมิเส้น  แผ่นภูมิแท่งเชิงซ้อน
                       ี
              แผนภูมิแท่งเชิงประกอบและแผนภูมิแผนที่สถิติ













                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            97    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109