Page 156 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 156
ตารางที่ 7 แสดง ค่าเฉลี่ย ความพึงพอใจในการใช้เส้นทางจักรยานและเส้นทางเดิน-วิ่ง: ด้านสิ่งอ�านวยความสะดวกฯ
ลักษณะการใช้บริการเส้นทาง
ความพึงพอใจในการใช้เส้นทาง:
ด้านสิ่งอ�านวยความสะดวกและความปลอดภัย เส้นทางเดินวิ่ง เส้นทางจักรยาน
X SD. แปลค่า X SD. แปลค่า
แสงสว่างตลอดเส้นทางเพียงพอ 4.34 0.67 มากที่สุด 3.86 1.06 มาก
ความปลอดภัยต่อผู้ใช้เส้นทาง 4.23 0.75 มากที่สุด 3.83 0.98 มาก
มีที่กั้นระหว่างเส้นทางจักรยานและเส้นทางเดินวิ่ง 2.20 1.13 น้อย 3.18 1.20 ปานกลาง
ความเพียงพอของเครื่องออกก�าลังกายกลางแจ้ง 2.68 0.94 ปานกลาง - - -
จ�าพวกยืดกล้ามเนื้อ
เก้าอี้และจุดพักเพียงพอต่อผู้ใช้บริการ 2.80 1.01 ปานกลาง - - -
มีจุดบริการน�้าดื่มร้านค้าและบริการอื่นๆ 1.47 0.73 น้อยที่สุด 3.20 1.40 ปานกลาง
มี รปภ. ดูแลอย่างทั่วถึงทุกทางเข้า-ออก 4.36 0.84 มากที่สุด 3.91 0.90 มาก
ค่าเฉลี่ยรวม 3.15 0.35 ปานกลาง 3.59 0.85 มาก
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ิ
ผลการวิจัยพบว่า มีความพึงพอใจในเส้นทางจักรยานในระดับมาก มีค่าเฉล่ย 3.59 สูงกว่าเส้นทางเดินว่งท่ม ี
ี
ี
ความพึงพอใจในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 3.15
4.5 การวิเคราะห์ความต้องการต่อรูปแบบการใช้เส้นทางจักรยานและเส้นทางเดิน-วิ่ง
ตารางที่ 8 แสดง ค่าเฉลี่ยความต้องการต่อรูปแบบการใช้เส้นทางจักรยานและเดิน-วิ่งในสวนสาธารณะ
ลักษณะการใช้บริการเส้นทาง
ความต้องการต่อรูปแบบการใช้เส้นทางจักรยาน เส้นทางเดินวิ่ง เส้นทางจักรยาน
และเดิน-วิ่งในสวนสาธารณะ
X SD. แปลค่า X SD. แปลค่า
เส้นทางจักรยานที่ใช้ทางร่วมกับเส้นทางเดินวิ่งโดยมีสี 3.06 1.20 ปานกลาง 3.38 1.25 ปานกลาง
เส้นหรือสัญลักษณ์บอก
เส้นทางจักรยานมีการติดตั้งอุปกรณ์อ�านวยความ 4.67 0.60 มากที่สุด 4.39 0.75 มากที่สุด
ปลอดภัย
เส้นทางจักรยานแยกออกจากเส้นทางเดินวิ่ง 4.84 0.39 มากที่สุด 4.70 0.49 มากที่สุด
ค่าเฉลี่ยรวม 4.19 0.42 มาก 4.15 0.49 มาก
ที่มา: ผู้วิจัย (2560)
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
149 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.