Page 240 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 240
ั
- ลักษณะของวัสดุภายในอาคาร จากการเก็บข้อมูลกับนักศึกษาท้ง 2 กลุ่ม ปรากฏว่านักศึกษารับรู้ถึง
ั
�
ี
ื
ความสนุก ความแปลกความต่นเต้น รวมถึงวัสดุหรูหราได้เหมือนกัน ท้งน้เกิดจากการนาวัสดุต่างๆ มาใช้ในท่ๆ มันแปลกตา
ี
ไปจากเดิม ท�าให้ดูหายาก หรูหรา แปลกตา สร้างความรู้สึกใหม่ๆ ให้กับนักศึกษาที่เข้าไปใช้ เช่น การน�าตาข่ายมาเสริม
ในพื้นที่ว่างระหว่างชั้นลอย เพื่อให้นักศึกษาได้นอนเล่นเป็นต้น
- แสงไฟ หลอดไฟภายในอาคาร จากการเก็บข้อมูลกับนักศึกษาท้ง 2 กลุ่ม พบว่านักศึกษาไม่รับรู้ถึง
ั
ึ
ี
ื
�
ความสนุกสนาน ต่นเต้น แปลกตา ซ่งเกิดจากการนาวัสดุธรรมดามาใช้ และไม่ได้สร้างความแตกต่าง หรือเอกลักษณ์ท่ชัดเจน
เมื่อเปรียบเทียบกับอาคารทั่วๆ ไป แล้วก็มีลักษณ์คล้ายกัน จึงท�าให้นักศึกษาไม่สามาระรับรู้ได้
- สีภายในอาคาร สีที่อยู่ภายในอาคาร เช่น จากการเก็บข้อมูลกับนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม ปรากฏว่านักศึกษา
ี
ื
ื
รับรู้ถึงความสนุก ความสดใส ความต่นเต้น และความหลายสีสันได้เหมือนกัน เน่องจากการเลือกใช้สีท่มีความสดเป็นสีโทนร้อน
ตัดกันกับสีโทนเย็น เช่น สีเขียว สีชมพู สีตอง สีม่วง สีเหลือง จึงท�าให้เกิดความเด่นชัดและมีความสะดุดตา
ั
- พ้นผิวภายในอาคาร จากการเก็บข้อมูลกับนักศึกษาท้ง 2 กลุ่ม ปรากฏว่านักศึกษาไม่สามารถรับรู้ถึง
ื
ื
ั
ื
ความสนุก ความต่นเต้น ความแปลกได้ แต่สามารถรับรู้ถึงหลายพ้นผิว ท้งน้เพราะว่าพ้นผิวราบเรียบ และ พ้นผิวไม่ราบเรียบ
ื
ื
ี
ี
�
ให้ความรู้สึกท่แตกต่างกัน จึงทาให้นักศึกษารับรู้ได้ง่าย เพราะพ้นผิวแต่ละแบบก็มีความหมายในตัวของมันเอง สาเหตุท ่ ี
ื
ี
ื
ื
นักศึกษาไม่สามารถรับรู้ถึงความแปลก ความสนุก ความต่นเต้น มาจากการนาพ้นผิวท่มีความธรรมดาเกินไปมาใช้ รวมไม่ได้
�
มีการจัดวางพื้นผิวให้มีความแปลกตาไปจากเดิม
8. ข้อเสนอแนะของงานวิจัย
ี
ื
�
ี
ข้อเสนอแนะต่อนักออกแบบท่จะได้จากงานวิจัยฉบับน้ คือ ถ้าต้องการออกแบบโดยมีแนวคิดในทานอง ร่าเริง ต่นเต้น
สนุกสนาน นักศึกษาควรน�าสัญญาณชี้แนะทั้ง 7 ตัว ดังที่กล่าวมาแล้วไปใช้กับอาคารที่ต้องการจะออกแบบ
ข้อเสนอแนะต่อมหาวิทยาลัยกรุงเทพจะได้จากงานวิจัยฉบับน้ คือ มหาวิทยาลัยสามารถนาข้อมูลจากงานวิจัยฉบับน ้ ี
�
ี
ไปพัฒนาในการออกแบบ ตกแต่งอาคาร SAC หรืออาคารอื่นๆ ที่มหาวิทยาลัยก�าลังจะสร้างเพื่อให้เกิดงานสถาปัตยกรรม
ที่สร้างสรรค์ โดยมีแนวคิดที่จะสื่อสารถึงความสนุกสนาน ร่าเริง ตื่นเต้น ให้กับผู้ที่จะเข้ามาใช้ภายในอาคาร
้
ั
ื
�
ข้อเสนอแนะต่อนักศึกษาปริญญาโทจะได้รับจากงานวิจยฉบบน คือ ควรไปทาวจัยต่อในอาคารประเภทอ่น เช่น
ั
ี
ิ
โรงพยาบาล อาคารเรียน หอสมุด เป็นต้น ทีมีสัญญาณชี้แนะทั้ง 11 ตัวนี้ เพื่อทดสอบดูว่าสัญญาณชี้แนะตัวไหนยังสามารถ
�
�
ี
�
ี
รับรู้ได้ดี หรือมีการเปล่ยนไป ทาวิจัยในกลุ่มคนท่ต่างวัฒนธรรมกัน ทาวิจัยเปรียบเทียบระหว่างอาคารประเภทต่างๆ ข้อจากัด
ของงานวิจัยชิ้นนี้ ผลของการวิจัยอยู่ภายใต้เงื่อนไขและปัจจัยดังต่อไปนี้
ข้อจ�ากัดด้านงบประมาณ และระยะเวลาในการท�าวิจัย จึงท�าให้มีการเก็บข้อมูลกับนักศึกษาบางส่วนเท่านั้น โดยใช้
การสุ่มแบบท่วไปกับนักศึกษาท้ง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มนักศึกษาท่เรียนด้านการออกแบบ และนักศึกษาท่ไม่ได้เรียนด้านการออกแบบ
ั
ั
ี
ี
เอกสารอ้างอิง
่
ื
ิ
์
ั
้
วิมลสิทธ์ หรยางกูร. (2541). พฤติกรรมมนษยกบสภาพแวดลอม: มลฐานทางพฤตกรรมเพอการออกแบบและวางแผน.
ิ
ุ
ู
(พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ื
ั
เลอสม สถาปิตานนท์. (2558). องค์ประกอบสถาปัตยกรรมพ้นฐาน (พิมพ์คร้งท่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ี
ุ
ุ
ชนกนาถ ณ ระนอง. (2542). ความเข้าใจความหมายทางอารมณ์ระหว่างกล่มผ้ใช้อาคารกบกล่มนกออกแบบ:
ั
ู
ั
กรณีศึกษาโถงโรงแรม. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง.
สาโรช พระวงค์. (2557). ศูนย์กิจกรรมนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สืบค้นจาก https://www.creativemove.com/
architecture/bu-sac-by-supermachine-studio/.
SCG. (ม.ป.ป.). สืบค้นจาก http://www.scgbuildingmaterials.com.
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
233 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.