Page 33 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 33

th
              Research Proceedings in The 9  Graduate Integrity Conference: April, 2018







                 การประเมินการจัดพื้นที่ใช้สอยภายในศูนย์พัฒนาเด็ก กรณีศึกษา: ศูนย์ เดอะ ลิตเติ้ล ยิม
                                            สาขา ทองหล่อ กรุงเทพมหานคร
                    The Evaluation of Functional Area Arrangement of Child Development Center:

                                  A Case Study of The Little Gym, Thonglor Branch



                                                        1
                                      ฐิษดา ลิมปิษเฐียร  ถิรายุ ชุมสาย ณ อยุธยา  2

             บทคัดย่อ

                    งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการประเมินการจัดพื้นที่ใช้สอยภายในศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเติ้ล ยิม สาขา

                                                                      ื
                                                                                                 ื
                             ื
                                 ี
             ทองหล่อ และสาขาอ่นๆ ท่มีรูปแบบใกล้เคียงกัน โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพ่อประเมินประสิทธิภาพการใช้งานพ้นท่ วิเคราะห์
                                                                                                   ี
                                                                       ื
                                                                          ี
                                              ี
                                           ื
             เปรียบเทียบความเหมาะสมของการจัดพ้นท่ และศึกษาพฤติกรรมการใช้งานพ้นท่ เพ่อนามาวิเคราะห์ความต้องการและปัญหา
                                                                              �
                                                                            ื
             ที่เกิดขึ้น โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ส�ารวจและเก็บข้อมูลในด้านลักษณะพื้นที่ทางกายภาพ
             การจัดพ้นท่ใช้สอย  โดยใช้แนวคิดการประเมินพ้นท่หลังการใช้งาน  (POE)  รวมถึงเก็บข้อมูลในด้านพฤติกรรมการใช้พ้นท ่ ี
                    ื
                                                     ี
                                                                                                        ื
                                                  ื
                      ี
             ของศูนย์พัฒนาเด็ก  เดอะ  ลิตเต้ล  ยิม  จานวน  4  สาขา  ได้แก่  สาขาทองหล่อ  ดิ  เอ็มโพเรียม  บางนา  และแจ้งวัฒนะ
                                      ิ
                                             �
                                                       ื
                                                          ี
                                                                                              ี
                                                                                           ื
             เพ่อวิเคราะห์ลักษณะการใช้งานและความสัมพันธ์ของพ้นท่ 2) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ผู้ใช้งานพ้นท่แต่ละกลุ่ม ได้แก่
               ื
             ผู้บริหารและผู้ฝึกสอน  จ�านวน  5  คน  นักออกแบบ  จ�านวน  1  คน  และผู้ปกครอง  จ�านวน  8  คน  เพื่อวิเคราะห์ทัศนคติ
             ความคิดเห็น  ความต้องการ  และปัญหาในการใช้งานพื้นที่  3)  น�าผลการวิเคราะห์ที่ได้มาสรุปความต้องการและปัญหาจาก
             การใช้งานพ้นท่ โดยผลการวิจัยพบว่า การจัดพ้นท่ใช้สอยภายในศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเต้ล สาขาทองหล่อยังไม่สอดคล้อง
                                                                                  ิ
                                                 ื
                         ี
                      ื
                                                   ี
                                               �
             กับความต้องการของผู้ใช้งาน โดยพบปัญหาสาคัญ 3 กรณี ดังน้ 1) พ้นท่ส่วนรวมมีความไม่สอดคล้องกับกิจกรรมและพฤติกรรม
                                                                  ี
                                                            ี
                                                                ื
                                                                          ี
                                                                                                        ื
                                                               �
                                                                   ึ
                           ี
                             �
             การใช้งาน 2) พ้นท่ทากิจกรรมมีความสูงพ้นถึงเพดานไม่เพียงพอนามาซ่งความเส่ยงต่อการเกิดอันตรายของผู้ใช้งาน 3) พ้นท ่ ี
                         ื
                                             ื
                                                                                                        ื
              �
             สาหรับเจ้าหน้าท่ขาดพ้นท่ใช้สอยท่จาเป็นในการใช้งาน  ท้งนี้  การวิจัยดังกล่าวสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการจัดพ้นท ่ ี
                                                                                 �
                                         �
                                        ี
                                 ี
                          ี
                               ื
                                                         ั
             ใช้สอยภายในศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเติ้ล ยิม ในสาขาอื่นๆ หรือน�าไปประยุกต์ใช้กับศูนย์พัฒนาเด็กประเภทอื่นได้ต่อไป
             ค�าส�าคัญ: การจัดพื้นที่ใช้สอย  การประเมินประสิทธิภาพการใช้งานพื้นที่  ศูนย์พัฒนาเด็ก  เดอะ ลิตเติ้ล ยิม
             Abstract
                    This  research  focused  on  the  evaluation  of  functional  arrangement  of  child  development  centers.
             Four of “The Little Gym” branches located in Thonglor, The Emporium, Bang-na, and Chaengwattana were
             used as a case study for this research. The objectives are (1) to evaluate the spatial efficiency of the main
             functions in each branch, (2) to make a comparative analysis for the congruity of the existing spatial arrangement
             and  users’  behaviors,  and  (3)  to  develop  a  conclusion  detailing  users’  requirements  and  existing  problems.
             A qualitative approach was mainly adopted for this research. The qualitative approach was broken down into
             three stages: 1) site surveying and collecting data from the main function areas of each branch, and using
             Post  Occupancy  Evaluation  (POE)  as  the  tool  to  evaluate  the  spatial  aspects  and  spatial  relationships,
             2)  collecting  data  by  interviewing  both  customers  and  staffs  of  The  Little  Gym;  total  of  four  instructors,
             1   ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
             2   ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
             Vol. 9                                        26
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38