Page 35 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 35
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
บางนา และแจ้งวัฒนะ เพ่อวิเคราะห์และประเมินลักษณะพื้นท่ทางกายภาพ รวมถึงวิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ และปัจจัย
ื
ี
ื
ึ
ี
ี
�
ี
ื
ี
ี
ื
ท่มีผลกระทบท่เกิดข้นหลังการใช้งานพ้นท่จริง เพ่อนาผลท่ได้จากการวิเคราะห์ประเมินความเหมาะสมของการจัดพ้นท่ใช้สอย
ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งานจริง
1.2 การประเมินประสิทธิภาพพื้นที่อาคารหลังการใช้งาน (POE)
ี
ื
แนวคิดและทฤษฎีเก่ยวกับการประเมินพ้นท่หลังการใช้งาน Horgen & Sheridan (1966) กล่าวว่าการประเมิน
ี
ี
ี
�
หลังการใช้งาน สาหรับอาคารท่ต้องการทาการปรับปรุง การประเมินอาคารหลังการใช้งานน้นจะเน้นไปท่ การประเมินส่วนใช้งาน
�
ั
(Function) องค์ประกอบหลักโดยรอบอาคาร (Built Environment) เป็นหลักรูปแบบการประเมินหลังการใช้งาน ได้ถูกพัฒนา
จากประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นเวลากว่า 20 ปี เคร่องมือในการประเมินจะใช้แบบสอบถามเป็นตัวเก็บข้อมูลจากผู้ใช้อาคาร ได้แก่
ื
ความพึงพอใจและความคิดเห็นที่มีต่อส่วนใช้งานของอาคาร ปัญจพงศ์ นาคะบุตร (2553) ยังได้อธิบายอีกว่า การประเมิน
หลังการเข้าใช้เป็นการประเมินอย่างมีระบบวิธี (Systematic-Post Occupancy Evaluation) คือ มีการน�าเอาวิธีการค้นคว้า
ี
ี
ื
ี
วิจัยท่มีระบบ มีวิธีการท่ชัดเจนเป็นวิทยาศาสตร์มาผสมกับวิธีการศึกษาค้นคว้าในสาขาอ่นๆ ท่เก่ยวข้อง เช่น พฤติกรรม
ี
สภาพแวดล้อม
1.3 เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพพื้นที่หลังการใช้งาน
ด้วยแนวคิดพื้นฐาน “อาคารที่ดี คือ อาคารที่ถูกสร้างขึ้นให้มีความเหมาะสมกับกิจกรรมการใช้งาน ผู้ใช้อาคาร
�
สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกสบาย และความปลอดภัย” Voordt & Wegen (2005) (อ้างจาก วรรัตน์ ผลทวี,
2557) ในด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ อาคารท่มีประสิทธิภาพ สามารถใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ต้งไว้และคุ้มค่า
ี
ี
ั
กับการลงทุนก่อสร้างโครงการ แบ่งออกเป็น 8 องค์ประกอบ คือ
1. ความเหมาะสมของสถานที่ตั้ง พื้นที่เข้าถึงได้ง่าย
2. ความเหมาะสมของการจัดวางพื้นที่ มีการแบ่งพื้นที่ต้องการความเป็นส่วนตัวและพื้นที่สาธารณะ
3. ความเพียงพอของขนาดพื้นที่ใช้งาน ส�าหรับท�ากิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ในแนวราบ
4. ความเพียงพอของความสูงเพดาน ส�าหรับท�ากิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ในแนวดิ่ง
5. ความเพียงพอของช่องทางเข้า-ออก มีเพียงพอทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง
6. ความเหมาะสมการใช้สีและวัสดุ ท�าความสะอาดและดูแลรักษาง่าย
7. ความเพียงพอของสิ่งอ�านวยความสะดวก อุปกรณ์ เครื่องใช้ต่างๆ ครบครันตามความต้องการ
8. ความเหมาะสมของบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่ดี
1.4 การวิเคราะห์เปรียบเทียบผังพื้น
การวิเคราะห์เปรียบเทียบผังพ้น เพ่อท่จะค้นหาความเหมือนและความแตกต่างของหน้าท่ใช้สอย หรือกิจกรรม
ื
ื
ี
ี
็
ั
ึ
่
ี
่
ี
์
้
ั
ี
่
ี
่
่
ึ
ี
ั
่
ึ
ี
ั
่
้
ี
่
ภายในอาคารแบบหนงกบอกแบบหนง ในผงพนแตละสถานททแตกตางกน แตมประโยชนใชสอยเดยวกน ซงเปนการเปรยบเทยบ
ื
ี
ี
ื
ื
ื
�
ิ
เพ่อนามาใช้อธิบายถึงความต้องการพ้นท่แตกต่างกันได้ โดยได้มีการศึกษาส่งเหล่าน้คือขนาดและความสัมพันธ์ของพ้นท ่ ี
ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดกลุ่มของพื้นที่ และพื้นที่ที่ใช้ร่วมกัน มีรายละเอียดดังนี้
1.4.1 ขนาดและความสัมพันธ์ของพื้นที่ ในความแตกต่างกันของขนาดของพื้นที่ ในแต่ละผังพื้นที่มีประโยชน์
ใช้สอยเดียวกันในระหว่างการจัดระเบียบผังพื้น จ�าเป็นจะต้องพิจารณาในเรื่องของขนาดที่แตกต่างกันด้วย ซึ่งสามารถน�ามา
ิ
ใช้ในการอธิบายถงความต้องการของการใช้สอยพ้นท่ทแตกตางกันได้ ความสัมพนธ์ระหว่างพ้นท ในการจัดบรเวณท่แบ่งเป็น
ี
ี
ื
่
่
่
ื
ี
ี
ั
ึ
�
ี
แผนกไว้ กิจกรรมอย่างเดียวกันในแต่ละสถานท่ แต่การกาหนดองค์ประกอบของพ้นท่แตกต่างกัน เช่น เป็นห้องหรือไม่เป็นห้อง
ื
ี
ึ
หรือผังแบบแรกจัดเป็นหน่งห้อง ผังอีกแบบจัดเป็นสองห้องหรือมากกว่าน้น ซ่งความหลากหลายเหล่าน้จะแตกต่างกันไปตาม
ั
ึ
ี
ี
ความหมายและวัตถุประสงค์ของแต่ละสถานท่ บอกวิธีการหน่งในการวิเคราะห์ คือ การใช้แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
ึ
ี
ื
ื
ห้องท่ถูกแยกออกจากกัน การเช่อมต่อกันระหว่างห้องโดยตรง แสดงให้เห็นโดยใช้เส้นเช่อมโยงระหว่างกัน ตามแผนผัง
พฤติกรรมของผู้ใช้ (Herbert et al., 1984)
Vol. 9 28