Page 38 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 38
ี
ี
ื
ี
ี
ี
ี
พ้นท่ส่วนรวมท่ใช้งาน ได้แก่ ส่วนทางเข้า-ออกพ้นท่ ส่วนเตรียมอาหาร และส่วนล้างมือ พ้นท่เฉพาะเจ้าหน้าท่ท่ใช้งาน ได้แก่
ื
ื
ห้องผู้บริหาร
4.1.2 ลักษณะและประเภทของผู้รับบริการ
1. เด็ก ที่ใช้งานภายในพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเติ้ล ยิม สาขา ทองหล่อ เด็กที่เรียน มีตั้งแต่
�
อายุ 4 เดือน ถึง 12 ปี โดยใน 1 วัน คลาสเรียนจะมีประมาณ 5-7 คลาส และใน 1 คลาส มีเด็กจานวนประมาณ 8-12 คน
หรือประมาณ 60 คนต่อวัน ระยะเวลา 1 คลาส ประมาณ 50 นาที–1 ชั่วโมง เด็ก 1 คนมีระยะเวลาใช้งานพื้นที่ประมาณ
ี
ื
ั
ี
ั
1 ช่วโมงคร่งโดยเฉล่ย พ้นท่ส่วนรวมท่ใช้งาน ได้แก่ ส่วนทางเข้า-ออกพ้นท่ ส่วนท่น่งพักคอย ส่วนท่น่งดูกิจกรรม และ
ึ
ี
ี
ื
ี
ั
ี
มุมเล่นเด็ก พื้นที่ท�ากิจกรรมที่ใช้งาน ได้แก่ ลานกว้างท�ากิจกรรม และส่วนของเครื่องเล่น
2. ผู้ปกครอง ที่ใช้งานภายในพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเติ้ล ยิม สาขา ทองหล่อ ผู้ปกครอง 1 คน
ต่อเด็ก 1-2 คน จ�านวนผู้ปกครองประมาณ 8 คนต่อคลาส จ�านวนผู้ปกครองประมาณ 50 คนต่อวัน ผู้ปกครอง 1 คน
มีระยะเวลาใช้งานพื้นที่ประมาณ 1 ชั่วโมงครึ่งโดยเฉลี่ย พื้นที่ส่วนรวมที่ใช้งาน ได้แก่ ส่วนทางเข้า-ออกพื้นที่ ส่วนต้อนรับ
ส่วนที่นั่งพักคอย และส่วนที่นั่งดูกิจกรรม พื้นที่ท�ากิจกรรมที่ใช้งาน ได้แก่ ลานกว้างท�ากิจกรรม และส่วนของเครื่องเล่น
4.2 การประเมินประสิทธิภาพการใช้งานพื้นที่
การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สรุปผลการวิเคราะห์ปัญหาจัดการพื้นที่ใช้สอยภายในศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเติ้ล ยิม
สาขา ทองหล่อ ได้ดังนี้
4.2.1 พื้นที่ส่วนรวม เป็นพื้นที่ใช้งานส่วนรวม ส�าหรับผู้ให้บริการและผู้รับบริการซึ่งเป็นพื้นที่ส�าหรับทุกกลุ่ม
ผู้ใช้งาน ได้แก่ ผู้ปกครอง เด็ก เจ้าหน้าที่ และผู้บริหาร โดยมีพื้นที่ส่วนต่างๆ ได้แก่ พื้นที่ส่วนต้อนรับ ส�าหรับเจ้าหน้าที่
ต้อนรับลูกค้า ให้ข้อมูลการเรียนการสอน และส�าหรับผู้ปกครองใช้สอบถามข้อมูล และการสมัครและช�าระค่าเรียน
ี
ื
ึ
ซ่งจากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า พ้นท่มีขนาดไม่เพียงพอและมีความไม่สอดคล้องกับกิจกรรมและพฤติกรรม
การใช้งาน ดังนี้
1. ต�าแหน่งที่ตั้งของพื้นที่ พื้นที่นั่งดูกิจกรรม และพื้นที่นั่งคอย ไม่สามารถมองเห็นพื้นที่ท�ากิจกรรมได้
อย่างทั่วถึง หากเด็กท�ากิจกรรมอยู่ในระยะที่ลับสายตา ผู้ปกครองจะไม่สามารถมองเห็นได้ และมุมส�าหรับเด็กอยู่ใกล้ประตู
ทางเข้าออกมากเกินไป เป็นจุดที่คนเดินเข้าออกบ่อยครั้ง หากผู้ปกครองไม่ได้ใส่ใจเด็กมากเพียงพอ เด็กสามารถวิ่งออกไป
ข้างนอกศูนย์ หรือคนแปลกหน้าสามารถลักพาตัวไปเป็นอันตรายได้
ี
ื
ี
2. ความเหมาะสมของการจัดวางภายใน พ้นท่จัดวางไม่เหมาะสมกับการใช้งาน โต๊ะและเก้าอ้ท่อยู่บริเวณ
ี
พื้นที่นั่งคอยจัดวางอย่างไม่เป็นระเบียบและกีดขวางทางเดินสัญจร ท�าให้เดินเตะหรือสะดุดได้ง่าย และชั้นวางรองเท้าจัดวาง
อยู่ไกลจากพื้นที่ท�ากิจกรรม ซึ่งท�าให้ไม่สะดวกในการใช้งาน เนื่องจากเดินจะต้องไปวางรองเท้าก่อนท�ากิจกรรม และไปน�า
รองเท้ากลับหลังจากท�ากิจกรรมเสร็จ
ี
ี
็
ี
ี
ื
3. ความเพยงพอของขนาดพ้นท่ พ้นท่มีขนาดไม่เพียงพอต่อการใช้งาน ในบางช่วงเวลาท่มีเดกมาเรียน
ื
จ�านวนมาก ท�าให้จ�านวนผู้ปกครองที่มาเฝ้าดูมากตามไปด้วย ซึ่งโดยปกติพื้นที่สามารถจุคนนั่งได้ประมาณ 20 คน หากเด็ก
มาเรียนครบ 20 คน และผู้ปกครองมาดูแลจ�านวน 2 คนต่อเด็ก 1 คน จะท�าให้พื้นที่ไม่เพียงพอและสร้างความอึดอัดได้
ี
4. ความเหมาะสมของเฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์เคร่องใช้ท่ไม่เหมาะสมกับการใช้งาน โต๊ะท่ใช้เป็นโต๊ะไม้
ี
ื
ท�าให้เกิดรอยขีดข่วนได้ง่ายไม่เหมาะสมกับเด็กที่เป็นวัยชอบการขีดเขียนสิ่งต่างๆ และโต๊ะมีมุมโต๊ะที่แหลมคม เป็นอันตราย
ั
่
ั
็
่
ั
กบเดกหากไปวงชนเกิดการบาดเจบได้ ส่วนเก้าอเป็นเก้าอไม่มีพนกพง ทาให้เดกเลกทยงทรงตวไม่แขงแรงอาจจะนงแล้ว
็
ั
ั
ิ
้
ี
้
ี
�
่
็
ิ
ี
็
็
หงายหลังได้ง่าย
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
31 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.