Page 36 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 36
ื
ื
1.4.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดกลุ่มของพ้นท่ ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มของพ้นท่หรือบริเวณ (Zoning)
ี
ี
เป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างแต่ละห้องและกลุ่มทางสังคม ซึ่งก�าหนดไว้ตามพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ แนวความคิดในการ
ื
จัดการเชิงพ้นท่ โดยแสดงให้เห็นข้อแตกต่างของการมีอาณาเขตครอบครองในศูนย์พัฒนาเด็กหลายๆ แห่ง ท่สามารถแจกแจง
ี
ี
รายละเอียดเป็น 3 ส่วน ดังนี้
1. พื้นที่ส่วนรวม ได้แก่ พื้นที่เคาท์เตอร์ต้อนรับ และที่นั่งคอยของผู้ปกครอง
2. พื้นที่ท�ากิจกรรม ได้แก่ บริเวณที่จ�ากัดไว้ส�าหรับเด็กและครูผู้สอนใช้ท�ากิจกรรมร่วมกัน
3. พื้นที่ส�าหรับเจ้าหน้าที่ ที่จ�ากัดเฉพาะพนักงานเท่านั้น รวมถึงพื้นที่ครัวและพื้นที่เก็บของ
1.4.3 พื้นที่ที่ใช้ร่วมกัน พื้นที่ที่ใช้ร่วมกัน ในแต่ละผังพื้นจะสามารถจ�าแนกได้ถึงการก�าหนดพื้นที่ที่ใช้ร่วมกัน
ไม่ว่าจะใช้พื้นที่สาธารณะร่วมกัน ใช้พื้นที่ของเจ้าหน้าที่ร่วมกัน หรือใช้พื้นที่ร่วมกันของบริเวณที่เชื่อมต่อกัน
การวิเคราะห์เปรียบเทียบผังพ้น เป็นการเช่อมโยงการประเมินค่าเข้ากับการครอบครองอาจทาให้เกิด
�
ื
ื
ี
ื
ี
�
ึ
ความช้แจงทางแนวคิดในการจัดการเชิงพ้นท่ ซ่งการวิเคราะห์เปรียบเทียบสามารถนามาปรับใช้ได้หลายทาง คือ เปรียบเทียบกัน
ื
ี
�
�
ี
ในแง่ของจานวนผู้ครอบครองทางกายภาพในแต่ละผังพ้นท่ใช้สอยเหมือนกัน สามารถนาไปใช้เปรียบเทียบระหว่างอาคารท่ม ี
หน้าที่ใช้สอยที่แตกต่างกันได้ สามารถท�าให้การเปรียบเทียบอยู่ในข้อก�าหนดที่สอดคล้องกันได้
การออกแบบอาคารท่ตอบสนองต่อความต้องการอย่างง่ายๆ ผลท่ตามมาจะไม่เกิดประโยชน์และไม่
ี
ี
ี
ี
ื
สอดคล้องต่อพฤติกรรมการใช้งานท่มีความแตกต่างกันในแต่ละอาคาร การแก้ปัญหาและการประเมินความเปล่ยนแปลงเชิงพ้นท ี ่
ึ
จะข้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคล เป้าหมายการใช้งานและความคาดหวังของผู้ใช้งาน แต่ไม่ได้เป็นแนวความคิดในการแก้
ปัญหาที่เหมาะสมส�าหรับทุกคน ผู้ใช้งานจะเป็นผู้ตัดสินได้ว่าเหมาะสมหรือไม่เหมาะสมต่อการใช้งานที่แตกต่าง ซึ่งขึ้นอยู่กับ
สภาพแวดล้อมของที่ตั้งนั้นๆ ทัศนคติส่วนบุคคล ความเชื่อและคุณค่า (Cammock, 1975 อ้างใน Herbert et al., 1984)
และการวิเคราะห์อาคารที่สร้างเสร็จสมบูรณ์หลายๆ แห่ง สามารถน�าข้อมูลที่ได้ไปใช้พิจารณาถึงความเหมาะสมในพิสัยของ
ปัจจัยต่างๆ เพื่อใช้ด�าเนินการจากแนวความคิดหลักไปสู่รายละเอียด ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของข้อสรุปที่ใช้ในการแก้ปัญหาของ
อาคาร (Cammock, 1981)
ประเด็นที่ส�าคัญเกี่ยวกับความสัมพันธ์ภายในองค์กร จะสามารถสะท้อนให้เห็นรูปแบบของผังพื้น และ
ความสัมพันธ์นี้จะสามารถบอกรูปแบบของผังพื้นได้อย่างชัดเจน เมื่อมีการใช้พื้นที่ร่วมกัน โดย Cammock (1975) ได้แสดง
ให้เห็นถึงการแบ่งแยกพื้นที่ 3 ประการของการใช้พื้นที่ส่วนรวม คือ การใช้พื้นที่ร่วมกันในพื้นที่สาธารณะ เช่น ทางเข้า พื้นที่
ทางสัญจร ส่วนพักคอย ห้องน�้าสาธารณะ การใช้พื้นที่ร่วมกันของจุดเชื่อมต่อ เช่น ห้องท�ากิจกรรม การใช้พื้นที่ร่วมกันของ
ื
ี
้
่
�
็
้
ั
้
้
่
ี
ั
่
เจ้าหนาท่ เชน ห้องครว อาคารทมความชัดเจนมาก จะสามารถสะทอนใหเหนถึงการแบ่งแยกความแตกตางของพนท่สาหรบ
ี
ี
ความจ�าเป็นและความต้องการใช้งานของบุคคลทั้ง 3 กลุ่ม ได้ดียิ่งขึ้น (Cammock, 1981)
ี
ี
ื
ี
จากการพิจารณาจุดประสงค์การวิจัยและการทบทวนวรรณกรรมท่เก่ยวข้อง การจัดพ้นท่ใช้สอยของ
ื
�
ั
ศูนย์พัฒนาเด็ก เพ่อให้มีประสิทธิภาพในการใช้งานสูงสุดน้น แสดงให้เห็นว่าผู้วิจัยจะต้องให้ความสาคัญกับความต้องการและ
ื
ี
ั
�
จุดประสงค์ของการใช้พ้นท่ในการทากิจกรรมต่างๆ ให้มีรูปแบบพ้นท่ท่เหมาะสมและสอดคล้องกับการใช้งาน ดังน้นการประเมิน
ื
ี
ี
ประสิทธิภาพพ้นท่ใช้งาน และการศึกษาความต้องการและปัญหาของผู้ใช้งาน จึงเป็นจุดประสงค์ในการทาหัวข้อวิจัยคร้งน ี ้
�
ี
ื
ั
ื
ความสอดคล้องของข้อมูลท่ได้จากการประเมินพ้นท่ทางกายภาพ และข้อมูลจากผู้ใช้งานพ้นท่ สามารถนาไปพัฒนาเป็นแนวทาง
ี
�
ี
ื
ี
การจัดการพื้นที่ภายในศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเติ้ล ยิม หรือน�าไปประยุกต์ใช้กับศูนย์พัฒนาเด็กประเภทอื่นได้
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 ศึกษาลักษณะการใช้พื้นที่ทางกายภาพของศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเติ้ล ยิม ทั้ง 4 สาขา ได้แก่ ทองหล่อ
ี
ื
ดิ เอ็มโพเรียม บางนา และแจ้งวัฒนะ โดยใช้แนวคิดการประเมินพ้นท่หลังการใช้งาน (POE) เพ่อวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ื
ความเหมาะสมของการจัดการพื้นที่ใช้สอย
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
29 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.