Page 34 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 34
one interior designer, and eight parents were interviewed. 3) Develop a conclusion on users’ needs and
existing problems. The result shows that there are three main problems in terms of the spatial limitation and
insufficiency for the activities in The Little Gym: 1) the common area is inconsistent with activities and users’
behaviors, 2) there is not enough ceiling height in activity areas, which could cause a risk of injury, and 3) the
staff areas lack usable spaces. it’s not applicable to the essential needs of staff routine works. To conclude,
the research result can be used as a guideline for functional area arrangement in other The Little GYM
branches or other child development centers in the future.
Keywords: The Functional Area Arrangement, The Post Occupancy Evaluation, The Child Development Center,
The Little Gym
1. บทน�า
1.1 ความเป็นมาละความส�าคัญของปัญหา
ี
เด็กระยะแรกเกิดถึง 6 ปี เป็นช่วงวัยท่สาคัญท่สุด มีการเจริญเติบโตของพัฒนาการในด้านต่างๆ ท่เห็นได้
�
ี
ี
อย่างชัดเจน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ โดยเฉพาะ
ื
ื
ื
การเคล่อนไหวร่างกายและการออกกาลังกาย เพ่อสร้างความแข็งแรงของกล้ามเน้อและการทรงตัวก่อนเป็นอันดับแรก เพ่อกระตุ้น
�
ื
ให้ร่างกายเติบโตและแข็งแรง และยังส่งผลต่อสุขภาพ ชีวิตความเป็นอยู่ การเรียน และความสาเร็จในชีวิตของเด็กในอนาคตได้
�
ี
ั
ี
ื
ื
ดังน้นเด็กทุกคนควรได้รับการอบรมเล้ยงดูและเสริมสร้างพัฒนาการอย่างถูกต้องและเหมาะสม เพ่อเป็นพ้นฐานท่ดีในการ
เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่เหมาะสมในช่วงวัยต่อไป (Sasse, 2009)
หากด้วยสภาพสังคมและเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันท่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทาให้สภาพการใช้ชีวิตของครอบครัว
�
ี
เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ภรรยาต้องออกไปหารายได้นอกบ้านเพื่อช่วยเหลือครอบครัวอีกแรงหนึ่ง จึงไม่มีเวลาเพียงพอที่จะ
่
้
้
ุ
ึ
์
็
ั
ี
ู
ู
้
้
ี
ุ
ู
ี
ั
เลยงดบตรไดเตมท ดวยเหตนศนยพฒนาเดกจงเขามามบทบาทสาคญในการรองรบความตองการของผปกครองแบงเบาภาระ
ั
�
็
้
ี
้
่
้
แทนครอบครัว ให้เด็กได้รับการอบรมเล้ยงดูท่เหมาะสม ช่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสังคมให้มีความคุณภาพในอนาคต
ี
ี
(กองนโยบายและแผนงาน ส�านักผังเมืองกรุงเทพมหานคร, 2550)
�
เดอะ ลิตเต้ล ยิม เป็นศูนย์การเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายเด็กช้นนาของโลก โดยดาเนินหลักสูตร
ั
�
ิ
ั
�
การเรียนการสอนสาหรับเด็กต้งแต่วัย 4 เดือน–12 ปี ใช้รูปแบบหลักสูตรการเรียนมาตรฐานของยิมนาสติกจากประเทศ
สหรัฐอเมริกา มุ่งเน้นเพื่อส่งเสริมศักยภาพและเสริมทักษะต่างๆ ให้เหมาะสมตามพัฒนาการของแต่ละวัย เพื่อให้เด็กได้อยู่
ในสภาพแวดล้อมของการเรียนรู้พร้อมที่จะลองสิ่งใหม่ๆ สร้างความมั่นใจในตัวเองด้วยรอยยิ้มที่มีความสุข
ดังน้นการออกแบบพ้นท่และจัดสภาพแวดล้อมศูนย์การเรียนรู้เพ่อเสริมสร้างประสบการณ์เด็ก จึงเป็นปัจจัยท่สาคัญ
ี
ื
�
ั
ื
ี
ี
ต่อพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างมาก อาทิเช่น การจัดพ้นท่ให้มีขนาดเพียงพอและเหมาะสมในการใช้งาน การสร้างบรรยากาศ
ื
ื
ให้มีความสนุกสนาน อบอุ่น และปลอดภัย เพ่อให้เด็กได้คืบคลาน เดิน ว่ง เคล่อนไหวร่างกายได้อย่างอิสระ สามารถเรียนร ู้
ื
ิ
ี
ี
ื
ประสบการณ์ได้อย่างเต็มท่ (สุจินดา ขจรรุ่งศิลป์, 2519) แต่เน่องด้วยในปัจจุบัน มีเด็กเข้าเรียนท่ศูนย์การเรียนรู้และพัฒนาเด็ก
�
ั
ี
ี
ื
ื
ิ
ิ
�
ึ
เดอะ ลิตเต้ล ยิม สาขาทองหล่อ จานวนเพ่มมากข้นอย่างต่อเน่อง และด้วยพ้นท่ใช้งานท่มีอยู่อย่างจากัดน้น การจัดการพ้นท ี ่
ื
ื
ี
้
ื
้
ิ
ี
ให้มประสิทธภาพสงสุดและสามารถใช้งานพนท่ไดอยางคมคา จึงเป็นผลสาคญตอการเพ่มศกยภาพของพนทให้เกดประโยชน ์
ิ
ี
่
ู
้
ุ
ิ
่
�
ั
่
่
้
ั
สูงสุดต่อผู้ใช้งาน
ี
งานวิจัยช้นน้ ท่ผู้วิจัยมีความสนใจทาการศึกษาเก่ยวกับการประเมินจัดการพ้นท่ภายในศูนย์พัฒนาเด็ก ในการวิจัย
�
ี
ิ
ี
ื
ี
ชิ้นนี้จะเก็บข้อมูลจากพื้นที่ตัวอย่างทั้งหมด 4 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเติ้ลยิม สาขาทองหล่อ ดิ เอ็มโพเรียม
ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
27 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.