Page 43 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 43
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
1. พื้นที่ต้อนรับ เป็นพื้นที่ส่วนแรกที่ลูกค้าจะเข้าถึงเพื่อสอบถามข้อมูลเจ้าหน้าที่
ี
2. พ้นท่น่งพักคอย เป็นพ้นท่สาหรับผู้ปกครองน่งคอยลูกเล่นของเล่นระหว่างรอเวลาเร่มคลาสเรียน และ
ิ
�
ื
ี
ั
ั
ื
ส�าหรับผู้ปกครองนั่งท�ากิจกรรมกับเด็กหลังจากเลิกการเรียนการสอนแล้ว
ื
�
ั
�
ั
ี
ี
3. พ้นท่น่งดูกิจกรรม เป็นพ้นท่สาหรับผู้ปกครองน่งคอยลูกทากิจกรรมระหว่างมีคลาสเรียน โดยผู้ปกครอง
ื
จะมีความต้องการคอยสอดส่องดูแลลูกขณะท�ากิจกรรมเนื่องจากเป็นห่วงและกังวลถึงความปลอดภัยของลูก
4. มุมเล่นเด็ก เป็นพื้นที่ส�าหรับเด็กเล่นของเล่นระหว่างรอเริ่มการเรียนการสอนหรือรอพี่น้องเรียน
5. ส่วนเตรียมอาหาร เป็นลักษณะเคาน์เตอร์ส�าหรับให้เด็กล้างมือหลังจะท�ากิจกรรมเสร็จแล้ว เพื่อท�า
ความสะอาด และส�าหรับผู้ปกครองดื่มน�้า ชงกาแฟ ทานขนม ระหว่างรอเด็กท�ากิจกรรม
ื
ี
�
ี
ื
ื
ี
�
ี
4.4.2 พ้นท่ทากิจกรรม เป็นพ้นท่สาคัญท่สุดเพ่อใช้ในการทากิจกรรมการเรียนการสอนเป็นหลัก พ้นท่น้ใช้สาหรับ
�
ื
�
ี
เจ้าหน้าที่ครูผู้สอน สอนกิจกรรมเด็ก หรือบางกิจกรรมก็จะมีผู้ปกครองเข้าร่วมด้วย โดยศูนย์ เดอะ ลิตเติ้ล ยิม มีหลักสูตร
ี
�
การเรียนการสอนท่ใช้การออกกาลังและยิมนาสติกเป็นหลัก ดังน้นพ้นท่ส่วนน้จึงต้องคานึงถึงความปลอดภัยและความสะอาด
�
ี
ื
ั
ี
ึ
ี
�
ื
�
ี
ี
เป็นสาคัญ จานวนคนท่ใช้งานพ้นท่จะมีประมาณ 15-25 คน ข้นอยู่กับแต่ละการเรียนการสอน หากการเรียนการสอนท่มีผู้ปกครอง
ร่วมด้วย จะมีเจ้าหน้าที่ครูผู้สอนจ�านวน 2-3 คน เด็กจ�านวน 5-10 คน และผู้ปกครองจ�านวน 5-10 คน ดังนั้นควรมีสัดส่วน
ของพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 65-70% ของพื้นที่ทั้งหมด โดยภายในพื้นที่ท�ากิจกรรมประกอบด้วย
1. พื้นที่ท�ากิจกรรมกลุ่ม เป็นพื้นที่ลานกว้างส�าหรับท�ากิจกรรมที่เป็นกลุ่ม เช่น การล้อมวงเล่นดนตรี
การพูดคุยแนะน�าก่อนเริ่มการเรียนการสอน การเต้นออกก�าลังตามเพลง รวมถึงการท�ากิจกรรมที่ต้องใช้เบาะลมด้วย
ื
�
ื
ี
ื
ี
ื
ื
2. พ้นท่เคร่องเล่น เป็นพ้นท่วางเคร่องเล่นออกกาลังกายยิมนาสติก โดยแบ่งเคร่องเล่นของเป็น 2 ส่วน
ื
ื
ื
ื
ื
คือ เคร่องเล่นสร้างความแข็งแรงของกล้ามเน้อ และเคร่องเล่นฝึกการทรงตัว ขนาดพ้นท่จะต้องเพียงพอในการจุเคร่องเล่นท้งหมด
ั
ี
ี
�
4.4.3 พ้นท่สาหรับเจ้าหน้าท่ เป็นพ้นท่ส่วนตัวสาหรับเจ้าหน้าท่และผู้บริหาร ใช้เพื่อน่งพักผ่อนระหว่างพักคลาส
ี
ื
�
ี
ั
ื
ี
เตรียมหลักสูตรการเรียนการสอนส�าหรับคลาสถัดไป ใช้รับประทานอาหารในช่วงพักกลางวัน และผู้บริหารใช้ส�าหรับท�างาน
ส่วนตัว
ี
1. ห้องพักผ่อนและรับประทานอาหารพนักงาน เป็นพ้นท่อเนกประสงค์ท่สามารถใช้พักผ่อนและรับประทาน
ี
ื
อาหารได้ และเจ้าหน้าที่จะใช้นั่งพักผ่อนระหว่างที่ไม่มีการเรียนการสอน และรับประทานอาหารในช่วงพักกลางวัน
�
2. ห้องผู้บริหาร เป็นห้องสาหรับผู้บริหารใช้ทางานเอกสารและเซ็นเอกสารต่างๆ รวมถึงตรวจตราความ
�
เรียบร้อยของเจ้าหน้าที่ขณะสอนกิจกรรม
3. ส่วนเตรียมอาหาร เป็นพื้นที่ส�าหรับการเตรียมอาหารเบื้องต้น เช่น การอุ่นอาหาร การชงน�้าร้อน
และวางตู้เย็น
4. ห้องเก็บของ เป็นห้องส�าหรับเก็บอุปกรณ์การเรียนการสอนต่างๆ รวมถึงเอกสารบัญชีทั้งหมด
ิ
จากสรุปดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสรุปแนวทางการแบ่งสัดส่วนพื้นท่ใช้สอยภายในศูนย์พัฒนาเด็ก เดอะ ลิตเต้ล ยิม
ี
สาขาทองหล่อ โดยวิเคราะห์จากประเภทพื้นที่ใช้สอย ความต้องการพื้นที่ในการท�ากิจกรรม และล�าดับความส�าคัญ ได้ดังนี้
ั
ี
ี
ี
�
ี
ื
ี
ี
ื
พ้นท่ทากิจกรรม ควรมีขนาดพ้นท่มากท่สุด สัดส่วนพ้นท่ประมาณ 60-65% ของพ้นท่ท้งหมด รองลงมาเป็นพื้นท่รับรอง
ื
ื
ลูกค้า ควรมีสัดส่วนพื้นที่ประมาณ 25-30% ของพื้นที่ทั้งหมด และพื้นที่ส�าหรับเจ้าหน้าที่ ควรมีสัดส่วนพื้นที่ประมาณ 10%
ของพื้นที่ทั้งหมด รูปแบบการใช้งานนี้สามารถปรับได้ตามความเหมาะสมของแต่ละสถานที่นั้นๆ โดยขึ้นอยู่กับความต้องการ
และกิจกรรมของกลุ่มคนที่ใช้งาน
Vol. 9 36