Page 46 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 46

การศึกษาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและการบริหารจัดการ
                         ในพื้นที่ท�างานร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม กรณีศึกษา: เดอะเวิร์คลอฟท์
                        The Study of Influence of Physical Environment and Management Policy

                                on Social Support Fostering for Co-Working Space Users
                                                Case Study: The Workloft



                                          อาทิตย์ ฉัตรโพธิ์ทอง  พิยะรัตน์ นันทะ 2
                                                               1

              บทคัดย่อ


                                                                                 �
                      งานวิจัยน้เป็นโครงศึกษานาร่องด้วยกรณีศึกษาเด่ยว  ท่มีจุดมุ่งหมายในการทาความเข้าใจ  ความสัมพันธ์ระหว่าง
                             ี
                                                            ี
                                          �
                                                                ี
                                                     �
              องค์ประกอบสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพ้นท่ทางานร่วมกับวิธีการบริหารจัดการ (Management) ท่นาไปสู่กลไกการสร้าง
                                                  ื
                                                    ี
                                                                                            ี
                                                                                             �
              แรงสนับสนุนทางสังคม  (Social  Support)  อันได้แก่  1)  การส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธ์  2)  การสร้างความเข้าใจให้กับคน
              ในสังคม 3) การก�าหนดหน้าที่ในการรับผิดชอบ และ 4) การลดความขัดแย้ง โดยองค์ประกอบของสภาพแวดล้อมกายภาพ
                                                                                                     �
                                                                                                    ี
                                     ื
                                       ี
                                                                                                 ื
              ในการศึกษาคือ การจัดกลุ่มพ้นท่ใช้สอย (Zoning) รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Architectonic Detail) ของพ้นท่ทางานร่วม
              ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ด้วยวิธีการส�ารวจ สังเกตพฤติกรรม และสัมภาษณ์ผู้ให้บริการ การศึกษาชี้ให้เห็นว่าการจัดกลุ่ม
              พ้นท่ใช้สอยสามารถกาหนดการเกิดปฏิสัมพันธ์และลดความขัดแย้งระหว่างผู้ใช้งานได้  และรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม
                               �
                ื
                  ี
              เป็นเครื่องมือของผู้ให้บริการในการสร้างความเข้าใจให้กับคนในสังคมและอ�านวยความสะดวกในการสื่อสารให้กับผู้ใช้บริการ
                                                                              �
              นอกจากน้ยังพบว่าการบริหารจัดการเป็นปัจจัยร่วมกับสภาพแวดล้อมกายภาพของสานักงานร่วมในการส่งเสริมแรงสนับสนุน
                      ี
              ทางสังคมทั้ง 4 ด้าน
              ค�าส�าคัญ: พื้นที่ท�างานร่วม  การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ  การบริหารจัดการ  แรงสนับสนุนทางสังคม
              Abstract
                      Co-working workplace is a new type of space that provides shared office environment for users without
              organizational connection. This type of office provides not only chances interaction, but also social support,
              which are associated with its users’ physical and mental well-being. The goal of this study is to investigate
              how  physical  environment  and  managerial  policy  impinge  on  the  fostering  of  co-working  space  users’  four
              dimensions of social support including emotional, tangible, informational, companionship, and feedback support.

              The physical elements examined consist of zoning and architectonic detail. A naturalistic inquiry through participant
              observation, survey, interview has been used as tools to understand how aforementioned factors are related.
              The result indicates zoning can increase communication by improving user surrounding awareness and minimize
              conflict between user. Architectonic detail can facilitates communication. And management can result in any
              type of social support intervention.


              Keywords: Coworking Space, Physical Environment, Management, Social. Support


              1   หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
                ลาดกระบัง
              2   ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            39    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51