Page 47 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 47
th
Research Proceedings in The 9 Graduate Integrity Conference: April, 2018
1. บทน�า
ี
ปรากฏการณ์พ้นท่ทางานร่วมเป็นทางเลือกใหม่ท่เปิดให้มีการทางานร่วมกันระหว่างคนแปลกหน้าและการสร้าง
ื
�
�
ี
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม รวมถึงช่วยให้เกิดการสนับสนุนทางสังคมแก่ผู้ใช้บริการได้ดีกว่าการท�างานโดยล�าพัง การศึกษานี้จึงมี
ี
�
ื
จุดประสงค์เพ่อทาความเข้าใจต่อความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกายภาพและการบริหารจัดการท่มีต่อการเกิดแรงสนับสนุน
ทางสังคมในพื้นที่ท�างานร่วม โดยมีค�าถามวิจัยหลัก คือ ท�าไมแรงสนับสนุนทางสังคมจึงเกิดขึ้นในพื้นที่ท�างานร่วม
เป็นทราบกันดีแล้วว่าความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม พฤติกรรมของมนุษย์ และบริบททางสังคมนั้นมีลักษณะ
เป็นพลวัต และในประเด็นหลักของการศึกษาน้ คือการเกิดปฏิสัมพันธ์ และบริบททางสังคมท่ถูกกาหนดไว้โดยนโยบายการบริหาร
ี
�
ี
จัดการพื้นที่ท�างานร่วมที่จะน�าไปสู่การเกิดแรงสนับสนุนทางสังคม
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 พื้นที่ท�างานร่วมคืออะไร ใครเป็นผู้ใช้ และได้ประโยชน์อย่างไร
ื
ี
ี
การศึกษาท่เก่ยวข้องกับพ้นท่ทางานร่วมมักใช้นิยามของเว็บไซต์ Coworking.com (www.coworking.com, 2018)
ี
�
�
ี
�
ี
ท่ว่า “ผู้มีอาชีพอิสระและผู้ท่มีความยืดหยุ่นกับสถานท่ทางาน ได้มาทางานในพ้นท่เดียวกัน และส่งผลดีกว่าการท�างานเพียงลาพัง
ี
ื
�
ี
เน้นที่ความเป็นชุมชนและความยั่งยืน” โดยค�าส�าคัญอยู่ที่ว่า “การเป็นชุมชน” ซึ่งแตกต่างจากการท�างานในรูปแบบเดิมและ
ได้รับการพิสูจน์โดยการศึกษาที่ผ่านมาในช่วง 5 ปีนี้ ได้แก่ การศึกษาของนักวิจัยในระยะ 5 ปีที่ผ่านมา (Spinuzzi, 2012.
Moriset, 2014. Grandini, 2015. Grandini, 2015. Markel, 2015. Parrino, 2015. Gerdenitsch et al., 2016) พบว่า
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ท�างานร่วมนั้นสอดคล้องกับนิยามดังกล่าว
ผู้ใช้งานส่วนมากในพื้นที่ท�างานร่วมจะมีเวลาท�างานที่ยืดหยุ่นตามที่ Spinuzzi (2012) ได้กล่าวไว้ ซึ่งได้แก่
ผู้ประกอบอาชีพอิสระ พนักงานลูกจ้าง ที่ปรึกษา เจ้าของกิจการ และส�านักงานขนาดเล็ก เป็นที่น่าสังเกตว่าโดยปกติแล้ว
ผู้ใช้บริการจะไม่ต้องการส่อสารกับคนแปลกหน้า แต่จะสามารถโต้ตอบและทาความรู้จักกับผู้ใช้บริการคนอ่นได้หากมีสภาพแวดล้อม
ื
�
ื
ทางกายภาพที่เหมาะสม (Bilandzic and Foth, 2014)
ประโยชน์ที่ผู้ใช้บริการพื้นที่ท�างานร่วมจะได้รับมีอยู่ 5 รูปแบบด้วยกัน ได้แก่ 1) มีปฏิสัมพันธ์จากผู้รับบริการ
คนอื่นทั้งพูดคุยเรื่องทั่วไปและแบ่งปันประสบการณ์ 2) ได้รับการตอบรับที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องให้กันและกัน 3) เกิด
ความไว้วางใจระหว่างผู้รับบริการทาให้สามารถส่งต่องานและความรับผิดชอบได้ 4) เกิดการเรียนรู้จากการแบ่งปันข้อมูลข่าวสาร
�
ระหว่างผู้รับบริการท�าให้สามารถตัดสินใจได้ดีขึ้น และ 5) ได้หุ้นส่วนในสายอาชีพถ้าผู้รับบริการมีสายวิชาชีพที่ใกล้เคียงกัน
(Spinuzzi, 2012)
2.2 แนวคิดแรงสนับสนุนทางสังคม
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคมมุ่งทาความเข้าใจกระบวนการสร้างความช่วยเหลือกันระหว่างบุคคลในสังคม
�
�
ี
ซ่งส่งผลในการบรรเทาหรือเยียวยารักษาความเครียด นาไปสู่สุขภาพท่ดีของบุคคล อย่างไรก็ตามผู้วิจัยจะทบทวนแนวคิด
ึ
และสาเหตุของการเกิดแรงสนับสนุนทางสังคมในบทความน้พอสังเขป เพ่อใช้เป็นกรอบการศึกษาทาความเข้าใจระหว่าง
ี
ื
�
สภาพแวดล้อมกายภาพ การบริหารจัดการ และการเกิดแรงสนับสนุนทางสังคมในพื้นที่ท�างานร่วม
ี
ั
แรงสนับสนุนทางสังคมเป็นทรัพยากรอย่างหน่งท่บุคคลรับรู้ว่ามีอยู่หรือได้รับจากบุคคลอ่น และมีลักษณะท้งเป็น
ึ
ื
ทางการและไม่เป็นเป็นทางการ (Gottlieb and Bergen, 2009) ทั้ง Cohen & Mckay (1984) และ Mattson & Hall (2011)
ื
ื
ให้ความเห็นว่าแรงสนับสนุนทางสังคมในเชิงการส่อสารท้งทางวจนภาษาและอวจนภาษา ช่วยให้ผู้อ่นสามารถรับมือสถานการณ์
ั
�
ึ
ึ
ี
ทางลบได้ดีข้น ทาให้บุคคลรู้สึกเป็นส่วนหน่งและเป็นท่เคารพในสังคม แม้เพียงแค่การรับรู้การมีอยู่ของแรงสนับสนุนเช่นน ้ ี
ก็จะส่งผลในทางบวกให้กับบุคคลได้
Vol. 9 40