Page 48 - The 9th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 48

Cutrona & Cole (2000) กล่าวถึงการส่งเสริมแรงสนับสนุนในเครือข่ายสังคมไว้ 4 อย่างด้วยกัน คือ 1) การ
              ส่งเสริมให้เกิดการส่อสารระหว่างคนในสังคมให้มากข้นเพ่อเป็นการเปิดโอกาสในการเข้าใจและรับรู้ถึงปัญหาท่เกิดข้น 2) การ
                                                      ึ
                                                          ื
                                                                                                 ี
                             ื
                                                                                                     ึ
                                                    ี
                                  ี
                                                                                                        �
                                      ึ
              สร้างความเข้าใจในปัญหาท่เกิดข้นในสังคม การเปล่ยนทัศนคติในการขอรับหรือการให้ความช่วยเหลือกันในสังคม 3) การกาหนด
              หน้าที่ในการรับผิดชอบการช่วยเหลือผู้อื่น ส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกที่น�าไปสู่การสนับสนุนภายในสังคม และ
                                                                                 ื
              4)  การลดบทบาทของสมาชิกท่บ่นทอนการสนับสนุนภายในสังคม  ลดการปิดก้นการส่อสารท่เกิดจากการแบ่งฝักฝ่ายของ
                                       ี
                                        ั
                                                                                       ี
                                                                            ั
                                   ี
              สมาชิกในสังคม  แนวคิดน้อธิบายถึงรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ท้งส่ด้านท่นาไปสู่การเกิดแรงสนับสนุนทางสังคมได้อย่างชัดเจน
                                                                     �
                                                               ี
                                                             ั
                                                                    ี
              และสามารถน�าไปใช้เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาการเกิดแรงสนับสนุนทางสังคมของพื้นที่ท�างานร่วมในงานวิจัยชิ้นนี้ได้
                      2.3  สภาพแวดล้อมที่ท�าให้เกิดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
                         เป็นท่ยอมรับกันแล้วว่าปัจจัยท่หลากหลายในภาพแวดล้อมทางกายภาพมีอิทธิพลต่อการเกิดพฤติกรรมของ
                              ี
                                                 ี
                                                                            ี
                                                   ี
                                                                                                ี
              ผู้ใช้สภาพแวดล้อม อย่างไรก็ตามการศึกษาคร้งน้ ผู้วิจัยจึงเน้นการศึกษาทบทวนเก่ยวข้องกับการจัดกลุ่มพื้นท่ใช้งาน (Zoning)
                                                 ั
              และรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Architectonic Detail) ที่ส่งผลต่อการเกิดปฏิสัมพันธ์และแรงสนับสนุนทางสังคมเท่านั้น
                                                                                     ึ
                                                                                 ื
                                      ี
                                   ้
                                   ื
                                 ุ
                                                                                                        ็
                         การจัดกล่มพนท่ใช้งาน  (Zoning)  Peponis  (2007)  พบว่าการวางผังพ้น  ซ่งส่งผลโดยต่อการมองเหนและ
              ระยะทางระหว่างผู้สนทนา  ส่งผลกระทบโดยตรงกับการเกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างพนักงานในส�านักงาน  โดยพื้นที่ออกแบบให้
                                                 ิ
                                                                                ึ
                                                                                             ื
                                     ี
              เปิดโล่งและมีเส้นทางสัญจรท่ซ้อนทับกันจะเพ่มโอกาสในการพบปะระหว่างผู้ใช้งาน  ซ่งส่งผลดีต่อการส่อสารภายในองค์กร
                   ิ
                                                                                              ี
                                                                                   ี
                                                       ั
                                     �
                                                                                          ื
                                                          �
              และเพ่มประสิทธิภาพในการทางานให้มากข้นด้วย ดังน้นสานักงานจึงควรจัดทางสัญจรหลักท่ใกล้กับพ้นท่ท่มีการใช้งานร่วมกัน
                                               ึ
                                                                                            ี
              ระหว่างพนักงาน เช่น โถงทางเดิน พื้นที่พักผ่อน พื้นที่ประชุมแบบเปิดโล่ง หรือพื้นที่ต้อนรับ ให้อยู่ในบริเวณเดียวกัน
                                                                                    ื
                         รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Architectonic Detail) หมายถึง วัสดุปิดผิว เคร่องเรือน อุปกรณ์หรือวัตถุท่ถูกใช้
                                                                                                        ี
              ในพ้นท่ โดย McCoy (2000) พบว่าส่งของเหล่าน้ถูกใช้เป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของผู้ใช้งาน สะท้อนถึงปฏิสัมพันธ์ 3 รูปแบบ
                                                              �
                                                   ี
                                          ิ
                  ื
                    ี
              ได้แก่ 1) ปฏิสัมพันธ์ด้านการควบคุม คือ การเลือกใช้วัสดุ หรืออุปกรณ์ที่บ่งบอกถึงสถานภาพทางการงานและแรงจูงใจ เช่น
              การใช้สีหรือรูปภาพของแต่ละแผนกที่มีความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ต่างกัน  เพื่อแสดงถึงขอบเขตในการควบคุม  และ
              2) ปฏิสัมพันธ์ด้านงาน คืออุปกรณ์หรือส่งของท่ช่วยอานวยความสะดวกในการทางานให้กับกลุ่ม เช่น การใช้เคร่องเรือนท่ไม่ม ี
                                                      �
                                                                          �
                                             ิ
                                                                                                  ื
                                                                                                         ี
                                                  ี
              ผนังกั้นระหว่างผู้ใช้งาน หรือการติดตั้งกระดานข่าวสาร เพื่อส่งเสริมผู้ใช้งานพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันมากขึ้น และ
                                                                   ิ
                                                                        ี
                                                                                              �
              สุดท้ายคือ 3) ปฏิสัมพันธ์ด้านการแสดงความเป็นตัวตน คือวัตถุหรือส่งของท่แสดงความเป็นตัวตน ความสาเร็จ หรือจุดหมาย
              เช่น รูปภาพครอบ หรือถ้วยรางวัล เพื่อสร้างความคาดหวังและแรงจูงใจให้กับผู้ใช้งานและผู้ร่วมงาน
                      2.4  การบริหารจัดการพื้นที่ท�างานร่วม
                         Parrino (2015) ได้พิสูจน์ว่า เพียงการใช้พ้นที่ร่วมกันของผู้ใช้งานจะไม่ก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์และการช่วยเหลือกัน
                                                        ื
              ระหว่างผู้ใช้งาน  และจะไม่น�าไปสู่การแบ่งปันความรู้และการส่งต่องานภายในเครือข่ายสังคม  แต่จะต้องมีการจัดการอ�านวย
                                                                                      ี
                                                  ื
                              ื
              ความสะดวกในการส่อสารระหว่างผู้ใช้งานคนอ่น เช่น การต้งเครือข่ายของผู้ใช้งาน มีพนักงานท่คอยให้ความช่วยเหลือ ข้อมูล
                                                           ั
                                                  ื
                                                                         ี
              ข่าวสารของกลุ่ม หรือการจัดกิจกรรมร่วมกันเพ่อให้เกิดการพูดคุยและแลกเปล่ยนความคิดเห็น จะทาให้ผู้ใช้งานแบ่งปันความร ู้
                                                                                         �
                            ื
                                                                                             ื
                                 ี
                               ี
              และข้อมูลท้งในเร่องท่เก่ยวกับการงานและไม่เก่ยวก็ตาม  โดยการบริหารจัดการดังกล่าวเป็นเสมือนเคร่องมีท่ช่วยเร่งให้เกิด
                                                   ี
                                                                                                 ี
                       ั
              ความเป็นเครือข่ายและการช่วยเหลือกันมากขึ้น
                                                                         ื
                         ดังจะเห็นได้จากการศึกษาของ Markel (2015) ถึงผู้ให้บริการในพ้นท่ทางานร่วมโดยการบริหารจัดการท่ช่วยสร้าง
                                                                             �
                                                                                                     ี
                                                                            ี
              ความเป็นเครือข่ายและการช่วยเหลือกัน  Markel  พบว่าสามารถแบ่งผู้ให้บริการได้เป็น  2  ประเภท  คือ  1)  แบบทั่วไป  คือ
                                               �
                  ื
                                                       �
                     ี
                         ิ
                           �
                                                                    �
                                                                   ี
              จัดพ้นท่และส่งอานวยความสะดวกเหมาะสาหรับการทางาน เช่น พ้นท่สาหรับทางาน สัญญาณอินเทอร์เน็ต ระบบปรับอากาศ
                                                                          �
                                                                 ื
              หรือห้องนา เป็นต้น และแบบท่ 2) แบบมีวิสัยทัศน์ ท่มุ่งการสร้างความเป็นชุมชน ส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการมีปฏิสัมพันธ์ท่ดีต่อกัน
                                                                                                      ี
                      ้
                                                      ี
                                      ี
                      �
              เพื่อสร้างจุดเด่นและดึงดูดผู้ใช้งานให้มากขึ้น
                                                                  ผลงานวิจัยในโครงการประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
                                                            41    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  สจล.
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53