Page 177 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 177
1. บทนำ
ตึกแถวซอยพระยาศรีเปนอาคารที่ตั้งอยูบริเวณถนนเฟองนคร มีลักษณะเปนอาคารแบบไทยผสมตะวันตก ในปจจุบน
ั
ู
ั
้
ั
ู
ี
่
ี
ั
ภายนอกอาคารอยในสภาพทดเพราะมีการบรณะซอมแซมทงจากตวผูเชาและสำนักงานทรพยสินพระมหากษตริย แตสภาพภายใน
ั
อาคารมีความชำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลา และไมตอบสนองตอการใชงานในปจจุบันมากเทาที่ควร โดยเฉพาะคูหาที่เปน
ี
่
่
รานอาหาร ซึ่งสวนใหญพบวาไมมการจัดสรรพื้นทีภายใน โดยมีการวางของทีไมจำเปนอยูภายในราน มีการรุกล้ำทางเทา และขัด
กบมาตรฐานในการประกอบธุรกจรานอาหาร
ั
ิ
การปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในรานอาหาร ในพื้นที่ตึกแถวซอยพระยาศรีจำเปนตองมีการปรับปรุงอยางเปนระบบ
ี
จึงเปนที่มาของการศึกษาลักษณะสภาพแวดลอมทางกายภาพ และพฤติกรรมของผูใชงานรานอาหารในพื้นท่ ศึกษาความพึงพอใจ
ปญหาที่พบ และแนวทางการปรับปรุงรานอาหาร ในแงของวัสดุและสี แสงสวาง การใชงานพื้นที่ เฟอรนิเจอร และเทคโนโลย ี
่
ื
ุ
ั
ั
ุ
ู
ั
ั
สมยใหม โดยศึกษาอยภายใตกระบวนการอนรกษอาคาร Rehabilitation: หรือการปรบปรุงสภาพอาคารอนรกษ เพอใหตอบสนอง
่
ิ
ุ
ั
ี
ึ
่
ิ
ุ
ี
ี
่
่
ี
่
ตอการใชงานในปจจบนไดอยางสะดวกสบาย ซงเปนวธการทดทสุด ทีจะทำใหอาคารมีชีวตอยตอไป โดยทีคณคาทางประวัตศาสตร
ู
ิ
ั
ุ
ู
ั
ั
ุ
ื
ุ
ุ
ั
และความสวยงาม ถกรกษาไวอยางคมคา เพราะสามารถใชงานไดในยคปจจบน (สำนกผงเมอง กรงเทพมหานคร, 2558)
ิ
ั
ิ
ิ
ั
ี
ั
ุ
ั
้
ี
การวจยนมความสอดคลองกบยทธศาสตรการวจยแผน 20 ป (สภานโยบายวิจยและนวัตกรรมแหงชาต, 2560) ในแงของ
การพัฒนาบริการมูลคาสูง ดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม สงเสริมพลังทองถิ่นและชุมชนทองเที่ยวที่แขงขันไดมั่นคง ยั่งยืน สราง
ภูมิคุมกันทางมรดกวัฒนธรรมโดยการสรางคุณคา และเพิ่มมูลคาการทองเที่ยว รวมถึงแผนพัฒนากรุงเทพมหานครฯ 20 ป
ที่สงเสริม พัฒนา และอนุรักษฟนฟูแหลงทองเที่ยวใหมีศักยภาพรองรับนักทองเที่ยวไดอยางมีคุณภาพ (สำนักยุทธศาสตรและ
ประเมินผล, 2556)
ั
การวิจัยนี้ถูกจัดทำขึ้นเพื่อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงรานอาหารที่อยูในอาคารอนุรักษ เพื่อใหสอดคลองกบ
พฤตกรรมการใชงาน หลักเกณฑและขอบญญติในการประกอบธุรกจรานอาหาร โดยไมไปทำลายหรือลดทอนคุณคาของตัวอาคารท ่ ี
ิ
ิ
ั
ั
เปนอาคารอนุรักษ เพื่อเปนการปองกัน และสงเสริมใหตัวอาคารมีการใชงานอยางตอเนื่อง ลดการถูกทิ้งราง และสงเสริมการ
ี
ุ
ทองเทยวยานชมชนเการอบเกาะรัตนโกสินทร
่
ิ
ั
ุ
ั
2. วตถประสงคการวจย
2.1 เพื่อศึกษาลักษณะเดนทางสถาปตยกรรม ลักษณะสภาพแวดลอมทางกายภาพ และพฤติกรรมของผูใชงาน
ึ
้
่
รานอาหารในพนทตกแถวซอยพระยาศรี
ื
ี
2.2 เพื่อสำรวจความคิดเห็นของผูประกอบการ และความพึงพอใจของลูกคาที่มีตอลักษณะสภาพแวดลอมภายใน
ึ
รานอาหารในตกแถวซอยพระยาศรี
ุ
ื
ี
ึ
2.3 เพอศกษาปญหา และแนวทางในการปรับปรงตกแถวซอยพระยาศรีทเปนอาคารอนรกษ ใหตอบสนองตอการใชงาน
่
่
ั
ึ
ุ
ิ
ั
้
ประเภทรานอาหารในแงวสดุ แสงสวาง พืนทีใชสอย รปแบบเฟอรนเจอร และเทคโนโลยีสมยใหมในอาคารอนุรกษ
ั
่
ั
ู
่
ี
ั
ิ
ี
่
3. ทฤษฎี และงานวจยทเกยวของ
อาคารอนุรักษเปนอาคารที่สรางขึ้นในอดีตซึ่งมีคุณคาทางประวัติศาสตรซึ่งตองการการดูแล และปกปองอยางตอเนื่อง
ี
่
่
ิ
ี
ึ
่
ี
่
ิ
ู
ั
ื
ุ
ิ
ั
ี
่
เพออนรกษอาคารไวใหนานทสุด การเตบโตของการทองเทยวสงผลใหเกดการทองเทยวเชงวฒนธรรม ซงเปนรปแบบการทองเทยว
่
ั
ที่มีศักยภาพที่กอใหเกิดรายได ซึ่งอาคารอนุรักษถือไดวาเปนผลิตภณฑที่จำเปนในการสงเสริมการทองเที่ยวประเภทนี้ เนื่องจาก
ั
่
่
ั
ี
เปนสิงสำคญทชกจงนกทองเทยวใหมาเยยมชม (Sodangi, 2013)
ี
ี
่
ั
ู
่
การอนุรักษสถาปตยกรรม คือ การปองกันการเสื่อมสภาพ และยืดอายุของโบราณสถาน การกระทำที่สงผลกระทบตอ
ื
่
อาคารนอยที่สุดถือเปนวิธีการทีดีทีสุดในมุมมองของสถาปนิก คือ การกระทำเพื่อรักษาคุณคาของสถาปตยกรรมใหดำรงตอเน่อง
่
ี
่
ั
้
สืบไป เพอใหคนรนหลังไดใชประโยชน และประจกษในคณคา ทงทางดานความงดงาม และความหมายตาง ๆ ทอาคารนนตองการ
ุ
่
ื
ุ
้
ั
ั
สื่อออกมา (ภานุวัฒน โทนุบล, 2546) การอนุรักษมีความหมายที่คอนขางกวาง และเกี่ยวเนื่องกับหลายองคประกอบเพื่อการ
ปฏิบัติที่แตกตางกันตามความเหมาะสมของแตละพื้นที่ และขอปฏิบัติของการอนุรักษสถาปตยกรรมที่มีความแตกตางกันในดาน
ของความหมาย และรูปแบบ (ปนรัชฎ กาญจนัษฐติ, 2552) Rehabilitation: คือ การปรับปรุงสภาพอาคารอนุรักษเพื่อให
ิ
ตอบสนองตอการใชงานในปจจุบันไดอยางสะดวกสบาย ซึ่งเปนวิธีการที่ดีที่สุดที่จะทำใหอาคารมีชีวิตอยูตอไปโดยที่คุณคาทาง
ั
ิ
ั
ุ
ประวตศาสตร และความสวยงามถกรกษาไวอยางคมคาเพราะสามารถใชงานไดในยคปจจบน
ู
ุ
ุ
ั
168