Page 188 - The 12th Graduate Integrity Conference Proceeding
P. 188
้
ื
ี
่
6.2 พนทประกอบอาหาร
จากแบบสอบถามลูกคาที่มาใชบริการเกินกวาครึ่ง (63.3% 19 คน) ตองการใหพื้นที่ประกอบอาหารอยูหลังราน
ิ
ขัดแยงกับแบบสัมภาษณผูประกอบการที่ตองการใหพื้นที่ประกอบอาหารอยูบรเวณหนาราน และจากการสังเกตของผูวิจัยพบวา
ิ
ิ
ุ
ิ
ี
พื้นที่ประกอบอาหารบรเวณหนารานมการรุกล้ำเขาไปยังบรเวณทางเทา ซึ่งขัดกับขอบัญญัติกรงเทพมหานคร (2530) ที่หามมให
ปรุงอาหารขาย หรือจำหนายสินคาบนถนนหรือทางสาธารณะนอกเขตผอนผัน และพื้นที่ประกอบอาหารมีลักษณะเปดโลงทำให
อาจมีสิ่งแปลกปลอม หรือสิ่งสกปรกปลิวเขามาปนเปอนกับอาหารได ตัวเคาทเตอรประกอบอาหารเปนโตะพับไมมั่นคง อาจเกิด
อันตรายเวลาไดรบการกระแทก ซึ่งไมสอดคลองกับหลักเกณฑมาตรฐานธุรกิจรานอาหาร ภัตตาคาร ที่จะตองจัดพื้นที่การทำงาน
ั
ิ
ุ
ี
ั
ั
ั
ุ
ภายในครวใหสะดวก สามารถทำงานไดอยางปลอดภัย และจดวางอปกรณอยางเปนระเบยบ (กรมพฒนาธรกจการคา, 2558)
่
ี
6.3 พืนทภายในและพืนทใหบริการลูกคา
้
้
ี
่
6.3.1 ดานวัสดุและสี จากแบบสอบถามพบวาลูกคาที่มาใชบรการเกินกวาคร่ง (63.3% 19 คน) ตองการใหมีการ
ิ
ึ
ั
ุ
ั
ั
ปรบปรุงรานบางสวนตามความเหมาะสม และจากการสังเกตสภาพแวดลอม พบวาวสดและสีของ พน ผนง และฝาเพดาน ภายใน
ื
้
ึ
ั
่
ั
ุ
อาคารมรองรอยการใชงาน คราบสกปรก รองรอยแตกราว และมีความชำรดทรดโทรมตามกาลเวลา ซงไมสอดคลองกบหลกเกณฑ
ี
ุ
มาตรฐานธุรกิจรานอาหาร ภัตตาคาร ที่ไดกำหนดใหตัวอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกตองแข็งแรง และบำรุงรักษาใหอยูใน
ู
สภาพดี งายตอการทำความสะอาด เหมาะสมในการดแลใหถกสขลักษณะ (กรมพฒนาธรกจการคา, 2558)
ู
ิ
ั
ุ
ุ
่
ิ
ึ
ึ
ู
6.3.2 แสงสวาง 1) แสงจากดวงโคมภายในอาคาร จากแบบสอบถามพบวาลกคาทมาใชบรการเกินกวาครงพงพอใจ
่
ี
ในแสงสวางภายในระดับปานกลาง จากการสังเกตของผูวจยพบวา ปรมาณของแสงสวางภายในอาคารมีความสวางทเหมาะสม แต
ิ
่
ี
ิ
ั
ไมไดมีการออกแบบลักษณะของแสงสวาง ลักษณะดวงโคมเปนแบบหลอดฟลูออเรสเซนตไมมีฝาครอบ ซึ่งขัดกับหลักเกณฑ
มาตรฐานธุรกิจรานอาหาร ภัตตาคาร ที่ไดกำหนดให โคมไฟภายในครัวควรมีฝาพลาสติกครอบเพื่อปองกันหลอดไฟแตก (กรม
พัฒนาธุรกิจการคา, 2558) 2) แสงธรรมชาติ จากการสังเกตลักษณะทางกายภาพของตัวอาคารพบวา ลักษณะทางกายภาพของ
ิ
ิ
ั
้
ั
ั
ึ
ั
่
กลมอาคารทีหนไปทางทิศใตและทศตะวนตก จงทำใหโดนแดดสองทงวน ผูประกอบการจึงแกปญหาดวยการนำแผนไวนลโฆษณา
ุ
ุ
มาติดไวบริเวณหนาราน จึงทำใหขัดตอลักษณะทางสถาปตยกรรมของอาคาร และขัดกับขอบัญญัติกรงเทพมหานคร (2530) ที่ม ี
การควบคมลักษณะ และสีของหลังคา
ุ
6.3.3 การจัดวางพื้นที่ใหบริการลูกคา จากการสังเกตของผูวิจัย พบวาลักษณะพื้นที่สำหรับใหบริการลูกคาสวน
ั
ี
ี
ื
่
ี
้
่
ี
้
ู
ื
ั
้
่
ี
่
่
ใหญตงอยบนทางเทาเนองจากพนทภายในอาคารไมมีการจดการพนทภายในทดพอ มการวางสิงของทีไมจำเปนไวภายในพนท ทำ
้
ื
ี
่
่
ื
ใหใชพื้นที่ไดไมเต็มประสิทธิภาพ และขอมูลจากแบบสอบถาม พบวาลูกคาสวนใหญไมเห็นดวยในการรุกล้ำพืนที่ทางเทา (93.3%
้
28 คน) ซึ่งสอดคลองกับขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร (2530) ที่หามมิใหปรุงอาหารขาย หรือจำหนายสินคาบนถนนหรือทาง
สาธารณะนอกเขตผอนผัน ดังนั้นจึงควรมีการจัดสรรพื้นที่ภายในอาคารโดยการจัดของและนำของที่ไมจำเปนออก เพื่อเพิ่มพื้นท ี ่
่
ี
ใหบรการและสามารถใชพนทภายในไดอยางเต็มประสิทธภาพ
ิ
้
ิ
ื
ิ
ี
ู
ึ
ื
ึ
่
6.3.4 เฟอรนเจอร จากแบบสอบถามพบวาลกคาทมาใชบรการเกอบครงมความพงพอใจรูปแบบเฟอรนเจอรอยใน
ู
่
ี
ิ
ิ
ระดับนอย (46.7% 14 คน) จากการสังเกตของผูวิจัยพบวารูปแบบของเฟอรนิเจอรถูกปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของราน เชน
ี
้
เฟอรนิเจอรรานอาหารไทยจานดวนมการใชโตะและเกาอีเหล็ก หรือสแตนเลสแบบพับ สวนรานอาหารประเภทภัตตาคาร จะเปน
ี
่
โตะและเกาอททำจากไมหมดวยหนงและผา มหลากหลายขนาด ตงแต แบบคอฟฟเทเบล แบบขนาดปกต และแบบเคาทเตอรบาร
ิ
้
ี
ิ
้
ี
ั
ั
ุ
ี
ั
ึ
้
6.3.5 เทคโนโลยีสมยใหม จากการสังเกตการติดตงระบบปรับอากาศ พบวามการติดตังไปตามระบบ ไมไดคำนงถง
้
ั
ึ
่
ั
ี
ั
ี
้
ั
ั
ิ
ั
ี
ลักษณะอาคาร ซงขดกบมาตรฐานในการติดตงระบบปรับอากาศในอาคารอนรกษทตองมการเตรยมการอยางระมดระวัง เชน ชนด
ึ
่
ุ
ิ
ของเครื่องปรับอากาศ ตำแหนงในการวางคอยลเย็น คอยลรอน และลักษณะการเดนทอ ดังนั้น ในการติดตั้งระบบปรับอากาศจึง
ี
ั
่
ิ
้
ั
็
ควรติดตังคอยลรอนไวดานบนหลงคาดานหลังอาคาร คอยลเยนและการเดนทอควรมีวสดปดหรือมการทำสีทกลมกลืนกบลักษณะ
ุ
ั
ี
อาคาร (นนวัฒน จิตตรง, 2543) ขอมูลจากสัมภาษณผูประกอบการรานอาหารไทยจานดวน พบวาไมตองการเทคโนโลยีสมยใหม
ั
บางประเภท เชน ระบบปรับอากาศ Wi-Fi แตยังคงตองการ ทีวี และระบบปองกันอัคคีภัย และขอมูลจากการสัมภาษณ
ผูประกอบการภัตตาคาร พบวาในรานมเทคโนโลยสมยใหมทเพมเขามาคอนขางครบถวน เชน ทว Wi-Fi ระบบปองกนอคคภย และ
ี
ี
ั
ิ
ี
ี
่
ั
่
ั
ี
ั
ี
ระบบปรบอากาศ
ั
179